Page 40 - คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
P. 40

5-28 คอมพิวเตอร์เบอ้ื งต้น

                               ภาพท่ี 5.30 เครื่องตรวจจับแบบแสง

ที่มา:	 http://surveyequipment.com/leica-rod-eye-140-classic-laser-receiver/ สบื คน้ เมื่อ 17 สิงหาคม 2558.

4. 	 อุปกรณ์รับข้อมูลเสียง

       อปุ กรณร์ บั ขอ้ มลู เสยี งปกตสิ ามารถสอ่ื สารกนั โดยการสนทนา ในการรบั สารจากผสู้ ง่ สารนน้ั ผรู้ บั สาร
จะต้องใช้อวัยวะหูในการรับสารจากผู้พูดในรูปแบบของคล่ืนเสียง ในการใช้คอมพิวเตอร์ก็เช่นเดียวกัน
ได้มีการพัฒนาหน่วยรับข้อมูลพื้นฐานท่ีสามารถรับข้อมูลเสียงจากการพูดหรือจากแหล่งก�ำเนิดเสียง ซ่ึง
เรยี กวา่ อปุ กรณร์ บั ข้อมลู เสียง (audio input device)

       4.1 การท�ำงานของอุปกรณ์รับข้อมูลเสียง อปุ กรณ์รับขอ้ มลู เสยี งรับคลื่นเสียง เปล่ียนคล่นื เสยี ง
เป็นการส่ันสะเทือน (vibration) โดยไดอะแฟรม จากนั้นการสั่นสะเทือนจะถูกเปล่ียนให้เป็นสัญญาณ
ไฟฟา้ และส่งข้อมูลนั้นไปยงั การด์ เสียง (sound card) เพ่อื แปลงสัญญาณแอนะลอ็ ก เป็นสัญญาณดิจทิ ัล
เพอ่ื บนั ทกึ หรอื อดั ขอ้ มลู เสยี งตอ่ ไป และอปุ กรณร์ บั ขอ้ มลู เสยี งอาจจะตอ้ งตดิ ตง้ั เครอื่ งขยายกำ� ลงั สญั ญาณ
(preamplifier) เพ่ือทำ� ให้มีการขยายข้อมูลให้มากข้นึ อกี ดว้ ย

       4.2 ประเภทของอุปกรณ์รับข้อมูลเสียง การพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่อื งท�ำใหม้ ีการประดษิ ฐเ์ ทคโนโลยี
อย่างไม่หยุด อุปกรณ์รับข้อมูลเสียง มีการพัฒนาให้มีความสะดวกใช้งานกับผู้ใช้ท่ีมีความต้องการที่แตก
ตา่ งกนั การเชื่อมต่อใหม้ ีประสิทธิภาพสงู แมน่ ย�ำและรวดเรว็ ช่วงการรับรู้ถึงความถท่ี ่ีมากขนึ้ ถงึ ขนาดที่
คนไม่สามารถรับรู้ได้ นอกจากนี้อุปกรณ์นี้ยังสามารถใช้ร่วมกับระบบอ่ืนๆ ได้ ดังตัวอย่างเช่น การรู้จ�ำ
เสียงพูด (speech recognition) เป็นการแปลงสารจากการพูดหรือคลื่นเสียงเป็นข้อความตัวอักษรได้
อีกดว้ ย
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45