Page 73 - คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
P. 73

หนว่ ยรบั ขอ้ มูลและหนว่ ยแสดงผล 5-61
       1.2 ประเภทของจอสัมผัส เปน็ ทท่ี ราบกนั ดอี ยแู่ ลว้ วา่ การใชเ้ ทคโนโลยขี องการแสดงผลทางภาพ
ของจอสมั ผสั ขนึ้ อยกู่ บั การพฒั นาเทคโนโลยจี อภาพและอปุ กรณแ์ สดงผลขอ้ มลู เสยี ง โดยเทคโนโลยจี อภาพ
ทน่ี �ำมาใช้ เชน่ จอแอลซีดี จอแอลอดี ี หรือจอโอแอลอีดี ติดต้งั อุปกรณ์ตรวจจบั เพอื่ เปน็ การระบุต�ำแหน่ง
ของข้อมูลทผี่ ใู้ ช้งานป้อนเข้าไป นอกจากนใี้ นจอสัมผสั ยงั มกี ารติดตง้ั อปุ กรณแ์ ฮปตกิ สอ์ กี ด้วย

            1.2.1 การแบ่งตามเทคโนโลยีที่ใช้งาน เทคโนโลยีการตรวจจับต�ำแหน่งของจอสัมผัสถูก
พัฒนาข้ึนไปพร้อมๆ กับความสามารถของมนุษย์ท่ีจะเข้าใจในศาสตร์ด้านอิเล็กทรอนิกส์ สนามแม่เหล็ก
ไฟฟ้า ปัจจุบันมีการแข่งขันกันมากมายถึงลักษณะของการตรวจจับไม่ว่าจะเป็น ความแม่นย�ำ  ความเร็ว
ความทนทาน จำ� นวนจดุ ในการสมั ผสั แตล่ ะครงั้ เทคโนโลยขี องจอสมั ผสั มมี ากมาย ในทน่ี จ้ี ะขอยกตวั อยา่ ง
จอสมั ผัสท่มี ักจะพบดงั นี้	

                1) จอสัมผัสแบบตัวต้านทาน (resistive touchscreen) ประกอบดว้ ยกระจกสองชน้ิ ซง่ึ
เคลือบด้วยตัวน�ำและตัวต้านทาน โดยท้ังสองชิ้นถูกเรียงตัวให้มีระยะห่างระหว่างกัน ซ่ึงมีตัวก้ันและ
ตัวต้านทานที่สามารถปรับค่าตัวต้านทานได้อยู่บนสุด ขณะที่จอภาพท�ำงานจะมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านทั้ง
สองชนั้ เมอ่ื ผูใ้ ช้สมั ผัสบนจอภาพ จะทำ� ให้ช้นั บนสุดสัมผัสกบั ชั้นถัดที่ต�ำแหน่งหน่ึง เกิดการเปลย่ี นแปลง
ของกระแสไฟฟา้ ทไ่ี หลผ่าน ณ จดุ นั้นๆ และข้อมลู จะถกู บันทกึ และค�ำนวณหาต�ำแหน่งของการสมั ผัสโดย
ทนั ที เทคโนโลยนี มี้ คี วามทนทานสงู ราคาถกู แมน่ ยำ� ในการตรวจจบั ตำ� แหนง่ ทส่ี มั ผสั แตแ่ รงในสมั ผสั ตอ้ ง
มากเพียงพอหรือต้องท�ำให้ชั้นบนสุดบุ๋มลงไปเพื่อท่ีจะท�ำให้ระบบรับรู้ อุปกรณ์ท่ีใช้เทคโนโลยีนี้ตัวอย่าง
เช่น โทรศัพทเ์ คลอ่ื นที่บางร่นุ พจนานกุ รมส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ ดังภาพที่ 5.67 และภาพท่ี 5.68 ตามล�ำดบั

                                 ภาพท่ี 5.67 โทรศัพท์เคล่ือนท่ี

ท่ีมา:	 http://www.mobilepricesindia.net/samsung-champ-duos-e2652/ สืบค้นเมอื่ 18 สงิ หาคม 2558.
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78