Page 118 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 118

4-18	    หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน

ท่ีมีศักยภาพท่ีสามารถรองรับการลงทุนจากนักลงทุนต่างประเทศได้มากทีเดียว หลังจากปี 1989 ซึ่งเป็น
ปีท่ีเร่ิมเปลี่ยนเป็นนโยบายเศรษฐกิจแบบเปิดและมีการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ (ปี 1986 เป็นปีแรก
ทมี่ แี ผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม) จงึ สง่ ผลท�ำใหร้ ฐั บาลตอ้ งการดงึ ดดู เมด็ เงนิ ลงทนุ จากทง้ั ในและนอกประเทศ
เพราะหวังให้ FDI เป็นเคร่ืองจักรส�ำคัญในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจของประเทศ ในขณะน้ันตัวเลขการลงทุน
อยู่ที่ 61 ลา้ นเหรียญสหรัฐ (ระหว่างปี 1991 ถึง 1995) ชว่ งนอ้ี ตั ราขยายตัว GDP รอ้ ยละ 8 และเพ่มิ เป็น
148 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ในปี 2005 และในปี 2009 เพม่ิ เปน็ 700 ลา้ นเหรยี ญสหรฐั สว่ นปี 2013 FDI ของกมั พชู า
เพมิ่ เปน็ ระดบั พนั ลา้ นเหรยี ญสหรฐั ซง่ึ มากทส่ี ดุ เปน็ ประวตั ศิ าสตร์ ปี 2013 นกั ลงทนุ ไทยอยใู่ นต�ำแหนง่ อนั ดบั
ท่ี 7 ของนักลงทุนทั้งหมดในกัมพูชา ส�ำหรับอาเซียนไทยเป็นอันดับที่สองรองจากนักลงทุนสิงคโปร์ ส�ำหรับ
นกั ลงทนุ จีนที่เข้าไปลงทุนในกมั พูชา ไดแ้ ก่อตุ สาหกรรมเสอ้ื ผ้า ธนาคาร สถาบันการเงนิ การเกษตร ท่องเทยี่ ว
อสงั หารมิ ทรพั ย์ การขนสง่ และการสอื่ สาร สว่ นนกั ลงทนุ ของสงิ คโปรส์ ว่ นใหญล่ งทนุ ในภาคบรกิ าร เชน่ ธนาคาร
ประกันภัย และท่ีปรึกษา นักลงทุนมาเลเซียลงทุนอุตสาหกรรมเส้ือผ้าและอุตสาหกรรมการเกษตร ในขณะที่
นักลงทุนเวียดนามลงทุนการปลูกยางพารา ก่อสร้าง อาหารแปรรูป โทรคมนาคม เหตุผลที่ส�ำคัญท่ีท�ำให้
นกั ลงทนุ ตา่ งชาตเิ ขา้ ไปลงทนุ ในกมั พชู าอนั ดบั แรกเปน็ เรอื่ งของคา่ จา้ งทถ่ี กู เหตผุ ลทส่ี องคอื การไดร้ บั ระบบสทิ ธิ
พเิ ศษทางภาษีศุลกากร (GSP) จ�ำนวน 25 ประเทศ สว่ นใหญเ่ ปน็ ประเทศในสหภาพยโุ รป สหรฐั ฯ ญีป่ นุ่ และ
แคนาดา และเหตผุ ลเรือ่ งจ�ำนวนแรงงานทม่ี ากพอดว้ ยจ�ำนวนประชากรทัง้ หมด 15 ล้านคน
4.5 ความสมั พนั ธ์ทางการคา้ การลงทนุ กบั ประเทศไทย
	 มูลค่าการค้าระหว่างไทย-กัมพูชาโดยรวมระหว่างเดือน มกราคม-พฤศจิกายน 2557 มีมูลค่าสูงถึง
149,850.87 ลา้ นบาท ซง่ึ คดิ เปน็ มลู คา่ การสง่ ออกมากถงึ 132,707.28 ลา้ นบาท และ มลู คา่ การน�ำเขา้ 17,143.59
ล้านบาท ไทยเกินดุลการค้า 115,563.69 ล้านบาท มูลค่าการค้าชายแดนระหว่างไทย-กัมพูชาในช่วงเดือน
มกราคม-พฤศจกิ ายน 2557 มีมูลคา่ รวม 103,567.14 ลา้ นบาท โดยคดิ เป็นมลู ค่าการส่งออก 87,720 ลา้ นบาท
มูลค่าการน�ำเข้า 15,847.14 ล้านบาท ท�ำให้ไทยเกินดุลการค้าสูงถึง 71,872.86 ล้านบาท (กรมการค้า
ตา่ งประเทศ, 2557)
	 ส�ำหรับมลู คา้ น�ำเขา้ สง่ ออกรายจงั หวดั ในบริเวณชายแดน

          ดา้ นการสง่ ออก จังหวัดสระแกว้ มมี ูลคา่ การสง่ ออกสงู ที่สดุ 53,952.17 ลา้ นบาท รองลงมาเปน็
จงั หวดั ตราด 25,053.75 ล้านบาท จงั หวัดจนั ทบุรี 6,026.92 ลา้ นบาท จงั หวดั สรุ ินทร์ 2,255.13 ล้านบาท และ
จงั หวัดอุบลราชธานี 432.02 ล้านบาท

          ดา้ นการน�ำเขา้ จงั หวดั สระแกว้ มีมลู คา่ สงู ทส่ี ดุ 13,622.58 ล้านบาท รองลงมาเปน็ จังหวดั ตราด
1,872.47 ล้านบาท จงั หวัดสุรนิ ทร์ 235.23 ลา้ นบาท และจงั หวดั จันทบุรี 116.86 ลา้ นบาท
	 มลู คา่ สนิ คา้ สง่ ออกชายแดนไทย-กมั พชู าสงู สดุ ในชว่ งเดอื น มกราคม-พฤศจกิ ายน 2557 10 อนั ดบั แรก
ไดแ้ ก่
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123