Page 215 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 215

โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559        7-27

      ส้ำหรับผู้สนใจเข้ำไปลงทุนท้ำธุรกิจในเวียดนำมควรต้องศึกษำข้อกฎหมำยและระเบียบต่ำงๆ ที่เก่ียวข้อง
อย่ำงครบถ้วนเพื่อไม่ให้เกิดปญั หำและเป็นตัวช่วยในกำรทำ้ ธรุ กิจให้เดินไปอย่ำงรำบร่ืน โดยนอกเหนอื จำกกฎหมำย
หลักๆ ดังท่ีกล่ำวถึงไว้ตอนต้น ยังมีกฎหมำยและประเด็นที่ส้ำคัญทำงธุรกิจ เช่น กฎหมำยล้มละลำย กฎหมำย
แข่งขันทำงกำรค้ำ กฎหมำยศุลกำกร กฎหมำยพำณิชย์ กฎระเบียบหรือรูปแบบและขันตอนกำรท้ำธุรกิจตังแต่กำร
จดั ตังธรุ กจิ กำรบญั ชี กำรเงินและกำรธนำคำร กำรภำษอี ำกร กำรจำ้ งแรงงำน กำรนำ้ เข้ำและส่งออก กำรคุม้ ครอง
และจัดกำรทรัพย์สินทำงปัญญำ กำรเข้ำเมือง กำรจัดกำรด้ำนส่ิงแวดล้อม รวมถึงนโยบำยกำรส่งเสริมอุตสำหกรรม
หรือพืนที่เศรษฐกิจพิเศษซ่ึงมีกระจำยตำมภูมิภำคต่ำงๆ โดยเวียดนำมได้แบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่ Export
Processing Zone (EPZ) เป็นเขตเศรษฐกิจที่รวมอุตสำหกรรมประเภทต่ำงๆ ที่เน้นผลิตสินค้ำเพื่อกำรส่งออก
Industrial Zone (IZ) เป็นเขตเศรษฐกิจอุตสำหกรรม ซ่ึงเน้นผลิตสินค้ำเพื่อกำรจ้ำหน่ำยในประเทศ และ และ
High-Tech Zone (HTZ) เป็นเขตเศรษฐกิจท่ีจัดตงั ขึนเพ่ือส่งเสริมกำรวจิ ัยและพัฒนำ (R&D) รวมทังผลติ สนิ ค้ำที่ใช้
เทคโนโลยีขันสูงในกำรผลติ

7.5 ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกิจกับประเทศไทย
      ภาพรวมความสัมพันธ์ระหว่างเวยี ดนามกับไทย
      เวยี ดนำมกับไทยได้สถำปนำควำมสมั พนั ธ์ทำงกำรทูตอยำ่ งเป็นทำงกำรมำเปน็ เวลำ 40 ปแี ล้ว นับตังแต่วนั ที่

6 สิงหำคม 2519 โดยไทยตังสถำนเอกอัครรำชทูต ณ กรุงฮำนอย และสถำนกงสุลใหญ่ ณ นครโฮจิมินห์ เมื่อปี
2521 และ 2535 ตำมล้ำดับ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเวียดนำมกับไทยถือว่ำอยู่ในระดับที่ดีมำก โดยปัจจุบันไม่มี
ปัญหำขัดแยง้ ท่สี ำ้ คัญ มีกำรแลกเปลี่ยนกำรเยือนในทุกระดับอย่ำงต่อเนอ่ื ง มีกำรเดินทำงระหวำ่ งกันมำกขนึ จำกกำร
ที่มีเส้นทำงเช่ือมโยงถึงกันค่อนข้ำงสะดวกตลอดระยะท่ีผ่ำนมำ ควำมร่วมมือระหว่ำงสองประเทศทังในรูปของ
ประชำคมเศรษฐกิจอำเซียนและควำมร่วมมือกันในลักณะทวิภำค มีลักษณะของกำรพัฒนำที่ช่วยสร้ำงผลประโยชน์
ร่วมกันตลอดชว่ งทผ่ี ่ำนมำโดยเวยี ดนำมและไทยถอื เปน็ “หนุ้ สว่ นยทุ ธศำสตร์” จนถึงปัจจบุ ัน

      ส้ำหรับในด้ำนกำรเมืองและควำมมั่นคง ท่ีผ่ำนมำไทยและเวียดนำมมีกำรวำงกรอบควำมร่วมมือทวิภำคี
หลำยด้ำนในระดับต่ำงๆ เช่น ในระดับสูงสุดคือ กำรประชุมคณะรัฐมนตรีร่วมไทย-เวียดนำม อย่ำงไม่เป็นทำงกำร
(Joint Cabinet Retreat: JCR) ระดับรองลงมำมีกลไกกำรหำรือรว่ ม (Joint Consultative Mechanism: JCM) ซง่ึ
เป็นกลไกกำรหำรือระดับรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรต่ำงประเทศ ท้ำหน้ำที่ดูแลกรอบควำมสัมพันธ์และประสำน

                                           27
   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220