Page 425 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 425

โครงการบริก1า9รวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559     14-19

 ขึ้นว่าจะเป็นพ้ืนที่เกษตร พ้ืนที่ท่องเที่ยว โดยในส่วนพื้นที่อุตสาหกรรมนั้น หากมีการกาหนดชัดเจน
 จากส่วนกลาง และเป็นท่ียอมรับของคนในพ้ืนที่ย่อมจะส่งผลให้เกิดทิศทางการพัฒนาท่ีสอดคล้องกนั
 และเปน็ รากฐานในการขยายการพัฒนาในด้านโลจสิ ตกิ ส์ และการดูแลรักษาส่ิงแวดลอ้ มไดใ้ นอนาคต

         3. นโยบายประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (ASEAN economic Community)

           ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน นับเป็นการบูรณาการทางเศรษฐกิจท่ีมีความสาคัญกับ
 ประเทศไทยอยา่ งมากเนือ่ งจาก

           (1) อาเซียนเป็นกรอบความรว่ มมือทางเศรษฐกิจที่มีความใกล้ชดิ ไทยมากที่สุด ประเทศ
 สมาชิกอาเซียนหลายประเทศเป็นเพ่ือนบ้าน มีพรมแดนติดกัน มีวัฒนธรรมที่คล้ายคลึง มีสินค้าและ
 บริการที่สามารถเสริมซึ่งกันละกันได้ หรือมีสินค้าบริการท่ีคล้ายคลึงกัน ซึ่งหากสามารถร่วมมือกันก็
 จะสามารถสร้างความแข็งแกร่งในด้านอานาจการต่อรอง อันจะนามาซ่ึงการขับเคล่ือนทางเศรษฐกิจ
 การคา้ ท่ีมีความสาคญั อยา่ งยิ่ง

           (2) การรวมกลุม่ เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนทาใหเ้ กดิ ตลาดในภมู ภิ าคทมี่ ีขนาดใหญ่
 โดยสามารถนาจุดแข็งของแต่ละประเทศมาเสริมกับจุดแข็งของประเทศไทยเพื่อสร้างประโยชน์สงู สุด
 ในการผลิต ส่งออก และบริการ ซ่ึงจะเกิดได้ก็ต่อเมื่อมีการเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตได้อย่างเสรีมาก
 ข้ึน นอกจากน้ี การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะช่วยใหป้ ระเทศสมาชิกมีความเป็นปึกแผน่ และ
 ชว่ ยสรา้ งอานาจการตอ่ รองในเวทีตา่ งๆ มากขึน้

           (3) ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี นจะช่วยสง่ เสรมิ ให้เกิดการขยายตัวในด้านการคา้ และการ
 ลงทุนของไทย เนื่องจากการผลกั ดันมาตรการต่างๆ เพ่ือเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะก่อให้เกดิ
 การยกเลิกหรือลดอุปสรรคในกาเข้าสู่ตลาด ไม่ว่าจะเป็นอุปสรรคด้านภาษีหรือมาตรการทางการค้า
 อื่นๆ ท่ีมิใช่ภาษี เน่ืองจากประเทศสมาชิกจะแสวงหาความร่วมมือเพื่อลด/ขจัดอุปสรรคต่างๆ
 เหลา่ น้นั รวมถึงอานวยความสะดวกทางการค้าและการลงทุนระหว่างกัน
   420   421   422   423   424   425   426   427   428   429   430