Page 95 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 95

โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559       3-23

                                                     23

        เรง่ ผลกั ดันให้การใชร้ ะบบมาตรฐานคุณวุฒวิ ชิ าชีพและมาตรฐานฝีมอื แรงงานในทางปฏิบัติ
        อยา่ งเปน็ รปู ธรรม นอกจากนี้ เพิม่ ผลติ ภาพทางการผลิตของเกษตรกรรายย่อย โดยสนบั สนุน
        การวจิ ยั และพฒั นาและการผลติ ทางการเกษตรที่สอดคล้องกับพน้ื ท่ี สร้างหลักประกันรายได้
        แทนการอดุ หนนุ ดา้ นราคาสินคา้ เกษตร ลดต้นทนุ ทางการเกษตรโดยสนับสนุนปจั จยั การผลิต

     - การจดั บรกิ ารทางสงั คมใหท้ ุกคนตามสิทธขิ ัน้ พนื้ ฐาน และเนน้ การสร้างภมู ิคุ้มกนั ระดบั ปัจเจก
        โดย (1) พัฒนาระบบบริการสาธารณะใหม้ ีคณุ ภาพและมีชอ่ งทางการเข้าถึงอย่างหลากหลาย
        โดยเฉพาะระบบบริการสาธารณสขุ และการศึกษาขน้ั พื้นฐาน สวัสดิการสังคม และ
        กระบวนการยุตธิ รรม (2)สนับสนนุ การจดั หาทอ่ี ยู่อาศยั ของผ้มู รี ายได้นอ้ ยและการเขา้ ถึง
        ระบบสาธารณปู โภค กาหนดเปน็ นโยบายทอี่ ยู่อาศัยแหง่ ชาติและเมืองน่าอยู่ พฒั นาโครงการ
        ทอี่ ยู่อาศยั แกป้ ญั หาชุมชนแออดั ในเมืองโดยดา้ เนนิ การรว่ มกบั ภาคธุรกิจเอกชน และ (3) การ
        จดั รูปแบบสวัสดิการพื้นฐานท่ีจา้ เป็นและเหมาะสมตามกลมุ่ เปา้ หมาย(Customized
        Welfare) ท่คี า้ นึงถงึ ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมท่แี ตกต่างกนั โดยมีแนวทางการรบั ภาระ
        คา่ ใชจ้ ่ายรว่ มกนั (Cost Sharing)

     - การสรา้ งความเสมอภาคในการเขา้ ถงึ ทรัพยากร โดยปฏิรปู ทดี่ ินเพื่อการเกษตรสนบั สนุนให้
        เกษตรกรรายย่อยที่ไร้ทดี่ นิ ทา้ กินและยากจนได้มีทีด่ นิ เปน็ ของตนเองหรือมีสิทธิทากนิ ในที่ดนิ
        ปฏิรปู ระบบการบริหารจัดการนา้ อย่างเป็นระบบและเขา้ ถึงพนื้ ท่เี ป้าหมายไดอ้ ย่างแทจ้ ริงด้วย
        การผลักดนั พรบ.ทรัพยากรน้า พ.ศ. .... และบูรณาการแผนงานและงบประมาณรว่ มกันของ
        หนว่ ยงาน และสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม รวมทงั้ ปรับโครงสร้างภาษที ี่เปน็ ธรรม เช่น ภาษี
        ทด่ี นิ และส่งิ ปลูกสรา้ ง ภาษมี รดก และภาษสี ิง่ แวดลอ้ ม เป็นตน้

     - การเข้าถึงกระบวนการยตุ ิธรรมอย่างเสมอภาค การคุม้ ครองสิทธิขั้นพื้นฐาน และการเข้าถงึ
        กระบวนการยตุ ธิ รรมอย่างเท่าเทยี มโดยการเสรมิ ศักยภาพและความเขม้ แขง็ ด้านกฎหมาย
        ใหแ้ ก่ประชาชน รวมทั้งการปรับปรุงและบงั คบั ใช้กฎหมายเพื่อลดปญั หาความเหลื่อมลา้ เชน่
        กฎหมายปา่ ชมุ ชน กฎหมายภาษีมรดก กฎหมายทดี่ นิ เป็นต้น

 4. การรองรบั การเชอื่ มโยงภมู ภิ าคและความเป็นเมือง

     - การลงทุนด้านโครงสร้างพ้ืนฐานและส่งิ อานวยความสะดวกของเมอื งเตรยี มความพร้อม
        รองรบั ความเป็นเมอื ง ทงั้ ดา้ นการบริหารจัดการดา้ นผงั เมืองด้านสาธารณูปโภค
        สาธารณปู การ ระบบคมนาคมขนส่ง ระบบบริหารจัดการสิ่งแวดลอ้ ม ระบบการศึกษาและ
        ระบบสาธารณสขุ ที่ไดม้ าตรฐาน มีคณุ ภาพ และเพียงพอต่อความตอ้ งการของคนในเมือง
        รวมท้งั เสรมิ สร้างความสามารถในการบรหิ ารจัดการเมืองตามระดบั การพฒั นา
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100