Page 16 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 16
6-6 วิทยาศาสตร์เทคโนโลยแี ละสง่ิ แวดลอ้ มเพ่อื ชีวิต
นน่ั เองทกี่ ลายเปน็ พลงั งานจนหมด หรอื ทเี่ รยี กวา่ มวลสารเปลยี่ นเปน็ พลงั งาน และนคี่ อื ตน้ กำ� เนดิ พลงั งาน
ของดวงอาทติ ยต์ ลอดท้งั ดาวฤกษอ์ น่ื ๆ
การระเบิดท้ังหลายที่ยกตัวอย่างมานี้ เป็นการระเบิดที่สังเกตจากภายนอก แต่บิกแบงเป็นการ
ระเบิดจากภายใน มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของระบบ ไม่มีสิ่งใดอยู่ภายนอก บิกแบงจึงไม่ใช่การระเบิดแบบ
ธรรมดาท่ัวไป หากเป็นการระเบิดทไ่ี ด้พลังงานพร้อมมวลสาร ณ เวลาใกล้ 0 (จดุ เริ่มตน้ ของเอกภพ)
นักวิทยาศาสตรย์ ังไมท่ ราบว่า ณ ภาวะเอกฐาน (Singularity) เม่ือเวลาเทา่ กบั 0 เอกภพเปน็
อะไร แต่ ณ เวลาหลังบิกแบง 10-43 วินาที อุณหภมู ิของเอกภพสูงถึง 1032 เคลวิน* (Kelvin) หรือร้อย
ลา้ นลา้ นล้านล้านล้านเคลวนิ โดยเอกภพมีขนาดเลก็ กว่านิวเคลียสของธาตทุ ี่เบาท่ีสุด
ล�ำดับการเกิดสสารที่เป็นอนุภาคพ้ืนฐาน การเกิดนิวเคลียส การเกิดอะตอมของธาตุที่เบาที่สุด
เป็นการเกิดในระยะเร่ิมแรกของเอกภพทง้ั สิ้น สามารถสรุปไดด้ ังตารางตอ่ ไปน้ี
ล�ำดับ เวลาหลังบิกแบง อุณหภูมิของเอกภพ ขนาดของเอกภพ สสารและพลังงานท่ีเกิดข้ึน
1 10-43 วินาที 1032 เคลวิน เลก็ กวา่ ขนาด พลังงานโฟตอน และอนภุ าค
2 10-32 วนิ าที นิวเคลียสของ พร้อมปฏอิ นภุ าค
1027 เคลวิน อะตอมไฮโดรเจน
3 10-6 วินาที ประมาณผลส้ม พลงั งานโฟตอน อนภุ าค
ควารก์ (Quark) ปฏิอนภุ าค
4 3 นาที 1013 เคลวนิ ประมาณเท่ากบั ควารก์
ระบบสรุ ยิ ะ อิเลก็ ตรอน (Electron)
โพสติ รอน นวิ ทริโน (Neu-
108 เคลวนิ trino) ปฏิอนุภาคนิวทรโิ น
ควาร์ก 3 ตัว ยึดเหนีย่ วรวม
ตวั กันเปน็ โปรตอนหรือ
นิวเคลยี สของไฮโดรเจน เกิด
นวิ ตรอนจากควาร์ก 3 ตวั
เกิดนิวเคลยี สของฮีเลยี ม
จากการ ยดึ เหน่ยี วกันดว้ ย
แรงนวิ เคลยี ร์อยา่ งเข้มระหวา่ ง
โปรตอน 2 ตัวและนวิ ตรอน
2 ตวั
* เคลวิน (Kelvin) เป็นหนว่ ยอุณหภมู ิสัมบรู ณ์ 0 เคลวนิ มคี า่ เทา่ กบั -273 เซลเซียส (Celsius)