Page 109 - วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อชีวิต
P. 109

เทคโนโลยกี า้ วหน้า 9-99
       2.2 	ด้านการใช้ท่ีดิน กรมพัฒนาท่ีดินน�ำข้อมูลจากดาวเทียมมาศึกษาและวิเคราะห์การ
เปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดิน จัดท�ำแผนท่ีแสดงขอบเขตการใช้ท่ีดินแต่ละประเภทเพ่ือให้เกิดประโยชน์
จากการใชท้ ดี่ นิ อยา่ งเหมาะสม ขอ้ มลู จากดาวเทยี มชว่ ยใหส้ ามารถวางแผนการปอ้ งกนั การพงั ทลายของดนิ
บางส่วนของพ้ืนท่ีลุ่มน้ําจังหวัดเชียงใหม่ได้ทันท่วงที ตลอดทั้งวางแผนการใช้ที่ดินบริเวณป่าพรุโต๊ะแดง
จงั หวัดนราธิวาสไดอ้ ย่างรวดเรว็ เป็นต้น
       2.3 	ด้านการเกษตร กรมวิชาการเกษตรได้น�ำข้อมูลจากดาวเทียมไปใช้ในโครงการต่างๆ เช่น
ติดตามการเปล่ียนแปลงของพื้นที่นาข้าวภาคกลาง ศึกษาหาผลผลิตข้าว การส�ำรวจพ้ืนที่ปลูกยางพารา
ของประเทศไทย การศึกษาความเป็นไปได้ของการประมาณพ้ืนที่เพาะปลูกปาล์มนํ้ามันทางภาคใต้ การ
ถา่ ยภาพทีเ่ ดมิ ซา้ํ เปน็ ระยะๆ ชว่ ยใหส้ ามารถเปรยี บเทียบความแตกต่างของสภาพพนื้ ท่ไี ดอ้ ยา่ งรวดเร็ว
       2.4 	ด้านธรณีวิทยาและธรณีสัณฐาน กรมทรัพยากรธรณีได้น�ำข้อมูลจากดาวเทียมมาใช้ในการ
ท�ำแผนที่ธรณีวิทยา โดยได้ท�ำแผนท่ีโครงสร้างท่ัวประเทศซึ่งสามารถน�ำไปใช้ในการพัฒนาประเทศด้าน
ตา่ งๆ ได้แก่ การหาแหลง่ แร่ แหล่งเชือ้ เพลงิ ธรรมชาติ แหลง่ น้าํ บาดาล การสรา้ งเขอื่ น เปน็ ต้น
       2.5 	ด้านการท�ำแผนที่ กรมแผนทท่ี หารไดท้ ดลองใชภ้ าพจากดาวเทยี มมาแกไ้ ขแผนทภ่ี มู ปิ ระเทศ
มาตราส่วน 1 : 50,000 ให้ทนั สมยั
       2.6 	ด้านอื่น ๆ เชน่ ด้านอทุ กวิทยาซึง่ รวมนํา้ ในทะเล นาํ้ บนดนิ และน้ำ� บาดาล ดา้ นชลประทาน
ดา้ นสมทุ รศาสตร์ และดา้ นอทุ กภยั ภาพถา่ ยจากดาวเทยี มชว่ ยบอกสภาพนาํ้ ทว่ ม ขอบเขตบรเิ วณนา้ํ ทว่ ม
ตดิ ตามสภาพนํ้าทว่ มไดเ้ ปน็ ขน้ั ตอน และสามารถน�ำข้อมูลมาศกึ ษาเพื่อหาทางควบคุมและป้องกันนา้ํ ทว่ ม
ในปตี อ่ ๆ ไป ศกึ ษาผลกระทบและความเสยี หายทเ่ี กดิ จากนา้ํ ทว่ มโดยการเปรยี บเทยี บกอ่ นและหลงั นา้ํ ทว่ ม
ใหร้ ู้สภาพเสยี หายไดอ้ ยา่ งแม่นย�ำ

3. 	ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเฉพาะเรื่อง

       ประโยชนท์ ไ่ี ดจ้ ากการสำ� รวจอวกาศไดจ้ ากการประมวลขอ้ มลู ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละนวตั กรรมทาง
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยหี ลายสาขา ซง่ึ เกดิ จากการกระตนุ้ ดว้ ยการน�ำเทคโนโลยที จ่ี �ำเปน็ ในการส�ำรวจ
อวกาศมาประยุกต์ใช้กบั งานเฉพาะอย่าง ตัวอย่างความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่

       3.1 การพัฒนาอุปกรณ์และระบบอิเล็กทรอนิกส์ ท�ำให้เกิดการพัฒนาอุปกรณ์ท่ีมีนํ้าหนักเบา
มขี นาดเลก็ ความนา่ เชอื่ ถอื สงู กลา่ วไดว้ า่ ววิ ฒั นาการดา้ นวงจรรวมและระบบคอมพวิ เตอรเ์ กดิ ขนึ้ ไดเ้ พราะ
โครงการอวกาศ

       3.2 	การพฒั นาซอฟตแ์ วร์ เพอ่ื ใชใ้ นการประมวลผล การออกแบบ และการวเิ คราะหท์ างวศิ วกรรม
ทำ� ให้สามารถออกแบบชน้ิ สว่ นตา่ งๆ ได้ถูกตอ้ งและรวดเร็ว

       3.3 	การพัฒนาด้านเครื่องมือวัด เกิดแรงผลักดันให้สร้างเครื่องมือวัดท่ีมีความไวสูง มีความ
ทนทานตอ่ สภาพของอวกาศ

       3.4 	การพัฒนาด้านวัสดุ เกดิ การสงั เคราะห์วสั ดแุ ละการใชว้ สั ดุท่ีมอี ยู่ในแนวทางใหม่ เชน่ วสั ดุ
นาโน วสั ดุน้ําหนักเบาและแขง็ แรงสำ� หรบั โครงการสรา้ งยานอวกาศ วสั ดุทนไฟ วสั ดุทที่ นตอ่ สภาพอากาศ
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114