Page 39 - อารยธรรมมนุษย์
P. 39
อารยธรรมจนี 3-29
ด้านเศรษฐกิจ แม้ว่าช่วงเวลาน้ีจะมีการค้าขายกับต่างชาติแพร่หลายมากขึ้น แต่จีนยังคงมี
เศรษฐกจิ ที่สำ� คญั ทขี่ ้ึนอยกู่ ับการเกษตรเปน็ หลกั ดงั นั้นจงึ ต้องมกี ารดำ� เนนิ การเรื่องการจัดการทีด่ นิ อย่าง
เปน็ ระบบ การจดั การทด่ี นิ ในชว่ งเวลานไ้ี ดม้ กี ารนำ� ระบบซนุ เทยี นและระบบชานซางมาใชเ้ พอื่ ประโยชนใ์ น
การบริหาร กลา่ วคอื
ระบบซนุ เทยี น (Equal Field System) หรอื ระบบนาเฉลยี่ ระบบนชี้ าวนาจะไดร้ บั มอบทดี่ นิ
ส่วนหนึ่งเพ่อื ประกอบอาชพี เป็นการชว่ ยเหลอื ชาวนาที่ยงั อยู่กบั ทีด่ นิ ใหห้ ลุดพ้นจากการเปน็ ทาสติดทดี่ นิ
โดยรฐั จะแบง่ ทด่ี นิ สว่ นหนงึ่ ไวเ้ พาะปลกู เพอ่ื ประโยชนแ์ กร่ ฐั บาล โดยทดี่ นิ สว่ นใหญท่ เี่ หลอื จะตอ้ งคนื ใหแ้ ก่
รฐั บาลเม่อื ผรู้ บั มอบหมายสิน้ ชวี ิตลง ระบบนเ้ี กดิ ขึ้นเพือ่ ปอ้ งกนั มิใหท้ ่ีดินสว่ นใหญ่ตกอยู่ในมอื ของขนุ นาง
เจ้าของทด่ี นิ ขนาดใหญ่ท้งั ยังเป็นการชว่ ยเพ่ิมรายได้ใหแ้ กร่ ฐั ด้วย27
ระบบชานซาง (Three Chief System) หรอื ระบบสามหวั หนา้ เปน็ ระบบการบรหิ ารเพอ่ื ให้
ระบบซนุ เทยี นไดผ้ ลตามความมงุ่ หมาย ระบบนเ้ี รยี กกนั ทว่ั ไปวา่ “ระบบเปาเฉยี ” เปน็ ระบบทแี่ บง่ คนออก
เปน็ หมู่ ใหร้ บั ผดิ ชอบในหน้าท่กี ารงานตลอดจนถงึ การเสียภาษใี นหมู่ของตน โดยการแบง่ ครอบครัวออก
เปน็ 5 ครอบครัว รวมเปน็ หมู่บ้าน เรยี กวา่ “ลนิ ” และ 5 หม่บู ้านรวมกนั เป็น 1 ตำ� บล เรยี กว่า “หล”ี
และ 5 ตำ� บลรวมเป็นชุมชน เรียกว่า “ถงั ” โดยแต่ละส่วนจะมีหัวหนา้ ปกครองดแู ล28
ด้านศาสนา สมยั นศี้ าสนาอสิ ลามเผยแผเ่ ขา้ มาในแผน่ ดนิ จนี มากขน้ึ ชาวมสุ ลมิ เขา้ ไปอาศยั อยใู่ น
ดนิ แดนจนี เปน็ จำ� นวนมากจนมกี ารอนญุ าตใหต้ ง้ั เปน็ ชมุ ชนมสุ ลมิ ขนึ้ ในบรเิ วณเมอื งกวางตงุ้ โดยมหี วั หนา้
ปกครองตนเอง และใช้กฎหมายและธรรมเนียมตามแบบของมุสลิม นอกจากน้ี ยังมีศาสนาอื่นๆ เข้าไป
เผยแผอ่ กี หลายศาสนา เชน่ ศาสนายิว ครสิ ต์ศาสนา เปน็ ต้น
พุทธศาสนาเป็นอีกส่วนหนึ่งที่มีความเจริญรุ่งเรืองอย่างมากควบคู่ไปกับลัทธิเต๋า ในช่วงคริสต์
ศตวรรษท่ี 7-8 พุทธศาสนามีความเจริญโดยได้มีการส่งภกิ ษุชาวจีนเปน็ จำ� นวนมากเดนิ ทางไปศึกษายัง
ประเทศอนิ เดยี พระภกิ ษจุ นี องคส์ �ำคญั ทเ่ี ดนิ ทางไปในชว่ งนค้ี อื พระซวน จง๋ั (Hsuan Tsang) ไดเ้ ดนิ ทาง
ไปแสวงบญุ และไดอ้ ญั เชญิ พระไตรปฎิ ก รวมถงึ พระบรมสารรี กิ ธาตกุ ลบั มาประเทศจนี ชาวจนี เองเรม่ิ หนั
มาสรา้ งวัด พระเจดีย์ และนยิ มสรา้ งพระพทุ ธรปู ท้ังหลอ่ สำ� รดิ และรวมถงึ สลกั หนิ ขณะเดยี วกนั ยังเปน็ ช่วง
เวลาท่ีพทุ ธศาสนานิกายมหายานเจริญรงุ่ เรอื งอย่างมาก
ด้านศิลปะและวรรณคดี ส่วนใหญ่ได้รับอทิ ธิพลจากพุทธศาสนา เชน่
ศิลปะการวาดภาพ ในยุคน้ีนิยมวาดภาพที่เก่ียวกับพุทธประวัติท่ีมีลักษณะเป็นภาพท่ีวาด
เก่ียวกับความจริงมากกว่าอภินิหาร เช่น ภาพพระโพธิสัตว์ ภาพการบ�ำเพ็ญทุกขกิริยาของพระพุทธเจ้า
ฯลฯ ซึง่ ไม่เคยปรากฏมาก่อนในศิลปะของจนี
ด้านสถาปัตยกรรม ปรากฏให้เห็นจากการสร้างเจดีย์ท่ีมีการพัฒนามาสร้างด้วยอิฐและ
ก้อนหิน เชน่ เจดยี ์หา่ นปา่ ใหญ่ เจดีย์ห่านป่าเล็ก ฯลฯ นอกจากน้เี ดมิ ชาวจนี นิยมการสรา้ งสญั ลักษณ์ของ
ความมีโชคและการแสดงความเคารพต่อวิญญาณของธรรมชาติ ต่อมาไดม้ ีการเปลี่ยนแปลงโดยไดน้ ำ� เอา
ความเชือ่ ทัง้ แบบเดิมมาผสมผสานกบั แนวทางพทุ ธศาสนาอีกดว้ ย
27 อรพนิ ท์ ปานนาค. (2542). อารยธรรมตะวันออก. กรงุ เทพฯ: สำ� นักพิมพ์มหาวิทยาลยั รามคำ� แหง. น. 182.
28 เรอ่ื งเดียวกัน.