Page 54 - อารยธรรมมนุษย์
P. 54
3-44 อารยธรรมมนษุ ย์
ตอ่ มาสมัยจกั รพรรดิหยง่ เล่อไดเ้ นน้ นโยบายในเรอ่ื งการติดต่อกบั อาณาจกั รต่างๆ ทั้งทางบกและ
ทางเรือ โดยเฉพาะทางเรือได้มกี ารสง่ ขนุ นางทช่ี อ่ื เจ้งิ เหอ (Zheng He) เดินทางไปตดิ ต่อกับอาณาจกั ร
ต่างๆ การติดต่อในคร้ังนี้มีการด�ำเนินการภายใต้นโยบายระบบบรรณาการ (Tribute) เพ่ือเป็นการจัด
ระเบียบการติดต่อกับอาณาจักรอนื่ ให้เปน็ แบบแผนเดียวกัน
ด้านงานประพันธ์ มีการเขียนต�ำราภูมิศาสตร์ ต�ำราสมุนไพร มีการเขียนแผนที่ และเกิด
วรรณกรรมที่มีชื่อเสียงต่างๆ อยู่หลายเร่ืองท่ีส�ำคัญ เช่น เร่ืองสุยหู่จ้วน เป็นวรรณกรรมเก่ียวกับวีรบุรุษ
ผู้ผดุงคุณธรรม นอกจากนี้แล้วยังมีสามก๊ก ไซอิ๋ว เป็นต้น ขณะเดียวกันยังมีการรื้อฟื้นการสอบเข้ารับ
ราชการท่ีเรียกว่า การสอบแบบจอหงวน พร้อมกันนนั้ ยงั ได้นำ� ตำ� ราของขงจื้อมาใช้และใหค้ วามสำ� คญั กบั
การศกึ ษาตำ� ราขงจอื้ อย่างมาก
ความเจรญิ ตา่ งๆ ของราชวงศห์ มงิ ตอ้ งหยดุ ชะงกั ลงเมอ่ื มกี ารกบฏขน้ึ ในชว่ งปลายราชวงศ์ ซง่ึ เหตุ
ของการก่อกบฏมักจะมาจากความยากจน ความทุกข์ยากของประชาชนจนน�ำไปสู่การจลาจล จักรพรรดิ
ฉงเจิน (Chongzhen) ได้ปลงพระชนม์ชีพพระองค์เองท�ำให้ราชวงศ์หมิงสิ้นสุดลง ด้วยเหตุน้ีเองชาว
แมนจูซ่ึงเป็นกลุ่มชนเร่ร่อนในบริเวณแมนจูเรียตอนใต้ซึ่งมีก�ำลังทหารเข้มแข็งจึงได้เข้ายึดครองปักกิ่งและ
ขึ้นปกครองแผน่ ดินจีนแทนภายใต้ราชวงศ์แมนจู
ราชวงศ์ชิงหรือแมนจู (Qing Dynasty: ค.ศ. 1644-1911)
ภายหลงั จากที่ชาวแมนจสู ามารถเขา้ ครอบครองจีนได้สำ� เรจ็ ใน ค.ศ. 1644 ไดม้ กี ารตง้ั เมืองหลวง
ขน้ึ ท่ีเมอื งปักกิง่ ต่อมาเมื่อรวบรวมบา้ นเมอื งมัน่ คงแลว้ จึงได้มีการยกใหฟ้ ูหลนิ 40 จากนน้ั ได้รับพระบรม-
ราชาภิเษกเป็นจักรพรรดิทรงพระนามว่า “จักรพรรดิซุ่นจ้ือ” (Shun Zhi) โดยราชวงศ์แมนจไู ดค้ รอง
แผน่ ดนิ จนี ทงั้ หมดในสมยั จกั รพรรดคิ งั ซี (Kang Xi)41 และสมยั จกั รพรรดเิ ฉยี นหลง (Qianlong) เป็นชว่ ง
เวลาทม่ี ีความเจรญิ รุง่ เรืองทส่ี ุด ความเจริญที่เกิดข้ึนในสมยั ราชวงศ์ชิง ไดแ้ ก่
ด้านการปกครอง ราชวงศ์ชิงปกครองจีนตามความเช่ือเรื่องอาณัติสวรรค์ และได้น�ำหลักการ
ปกครองจนี ตามระบบเก่า คือ ใช้หลกั ทฤษฎีการปกครองตามลัทธขิ งจอ้ื มาใช้ ขณะเดียวกนั ยงั รเิ รม่ิ ระบบ
การปกครองแบบใหมท่ ผ่ี สมผสานธรรมเนยี มการปกครองพลเรอื นของจนี และธรรมเนยี มการปกครองแบบ
ทหารของชาวแมนจเู ขา้ ดว้ ยกนั ซงึ่ เปน็ การรวมอ�ำนาจและตรวจสอบถว่ งดลุ อ�ำนาจระหวา่ งกนั และในเวลา
ตอ่ มากข็ ยายไปถงึ ชาวมองโกลและชาวตะวนั ตกใหเ้ ขา้ รว่ มในระบบปกครองดว้ ย42 ดงั เชน่ ในสมยั จกั รพรรดิ
คังซีพระองค์ได้แต่งต้ังมิชชันนารีชาวเบลเยียมเป็นรองผู้ตรวจการ นอกจากนี้ในการปกครองส่วนกลาง
ราชวงศช์ งิ ยงั ไดน้ ำ� โครงสรา้ งแบบสมยั ราชวงศห์ มงิ เรอ่ื งการรวมอำ� นาจทง้ั หมดมาอยทู่ สี่ ว่ นกลางมาใชด้ ว้ ย
นโยบายการปกครองในชว่ งเวลานโ้ี ดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในสมยั ของจกั รพรรดคิ งั ซี จกั รพรรดหิ ยง่ เจง้ิ
และจักรพรรดิเฉียนหลงน้ันต้องใช้ทั้งการประนีประนอมเพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกับชาวฮั่นได้อย่างเป็น
สงบสุข ขณะเดียวกนั กใ็ ชค้ วามแข็งกรา้ วเพอ่ื ควบคมุ ชาวฮัน่ ไม่ให้เกิดการตอ่ ตา้ นราชวงศช์ ิงด้วย
40 ผ้ซู ึ่งเป็นพระโอรสของจักรพรรดไิ ท่จงของรัฐแมนจูก่อนที่จะเข้ายดึ แผน่ ดนิ จีนได้ทง้ั หมด
41 จนั ทรฉ์ าย ภคั อธคิ ม. (2547). ประวตั ศิ าสตรเ์ อเชยี ตะวนั ออกสมยั ใหม.่ กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั รามคำ� แหง. น. 16-17.
42 เรือ่ งเดียวกนั . น. 28.