Page 68 - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อมวลชน
P. 68

8-58 ความรเู้ บื้องต้นเก่ียวกับสือ่ มวลชน
ได้ ไปจนถงึ การเชอื่ มโยงการใชง้ านอปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สต์ า่ งๆ ผา่ นทางเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ เขา้ กบั การ
ใช้งานอื่นๆ จนเกดิ เป็นบรรดาเทคโนโลยอี ัจฉรยิ ะตา่ งๆ ตัวอยา่ งเชน่  อุปกรณ์อจั ฉริยะ (Smart Device)
กรดิ ไฟฟา้ อจั ฉรยิ ะ (Smart Grid) บา้ นอจั ฉรยิ ะ (Smart Home) เมอื งอจั ฉรยิ ะ (Smart City) และระบบ
ขนสง่ อัจฉริยะ (Smart Intelligent Transportation) ดังท่ีเราเคยไดย้ นิ น่ันเอง

       IoT มชี ่อื เรียกอกี อยา่ งว่า M2M ย่อมาจาก Machine to Machine คอื เทคโนโลยอี นิ เทอรเ์ นต็
ที่เชื่อมต่ออุปกรณ์กับเครื่องมือต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน เทคโนโลยี IoT มีความจ�ำเป็นต้องท�ำงานร่วมกับ
อุปกรณ์ประเภท อาร์เอฟไอดี (RFID: Radio frequency identification) และเซนเซอร์ (Sensors)
RFID คอื การระบุขอ้ มลู ส่งิ ต่างๆ โดยใชค้ ลื่นความถว่ี ทิ ยุ การท�ำงานรว่ มกันกบั เซนเซอรจ์ ึงเปรยี บเสมอื น
การเติมสมองให้กับอปุ กรณต์ ่างๆ และทีข่ าดไมไ่ ดค้ อื การเช่ือมตอ่ อินเทอร์เนต็ เพอื่ ใหอ้ ุปกรณส์ ามารถรบั
สง่ ข้อมูลถึงกนั ได้ นอกจากอปุ กรณอ์ ัจฉริยะตา่ งๆ จะเช่ือมต่ออินเทอร์เนต็ ได้แล้ว ยงั สามารถเชอ่ื มต่อไป
ยังอุปกรณ์ตัวอ่ืนได้ด้วย วัตถุแต่ละชิ้นสามารถถูกระบุได้โดยไม่ซ�้ำกันผ่านระบบคอมพิวเตอร์ฝังตัวและ
สามารถท�ำงานร่วมกันได้บนโครงสร้างอินเทอร์เน็ต ผู้เชี่ยวชาญประเมินว่าเครือข่าย IoT ในอนาคตจะ
มกี ารเชอ่ื มตอ่ อปุ กรณป์ ระมาณสองหมน่ื ลา้ นชนิ้ ใน พ.ศ. 2563 ซง่ึ มมี ลู คา่ ทางธรุ กจิ อยา่ งมหาศาล (Martin,
2018)

       แผนพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีเม่ือวันท่ี 5
เมษายน พ.ศ. 2559 ใหค้ วามหมายของ “เทคโนโลยกี ารเชอ่ื มตอ่ ของสรรพสง่ิ ” วา่ หมายถงึ สภาพแวดลอ้ ม
อนั ประกอบด้วยสรรพสิง่ ทสี่ ามารถสื่อสารและเช่อื มตอ่ กันได้ผ่านโพรโทคอลการสื่อสารท้งั แบบใช้สายและ
ไรส้ าย โดยสรรพสงิ่ ตา่ งๆ มวี ธิ กี ารระบตุ วั ตนได้ รบั รบู้ รบิ ทของสภาพแวดลอ้ มไดแ้ ละมปี ฏสิ มั พนั ธโ์ ตต้ อบ
และทำ� งานรว่ มกนั ได้ IoT จะเปลยี่ นรูปแบบและกระบวนการผลิตในภาคอุตสาหกรรมไปสู่ยุคใหม่ หรอื ท่ี
เรยี กวา่ Industry 4.0 ทจี่ ะอาศยั การเชอื่ มตอ่ สอื่ สารและทำ� งานรว่ มกนั ระหวา่ งเครอื่ งจกั ร มนษุ ยแ์ ละขอ้ มลู
เพ่ือเพม่ิ อ�ำนาจในการตัดสินใจทีร่ วดเรว็ และมคี วามถกู ต้องแม่นยำ� สูง โดยเทคโนโลยีทีท่ ำ� ให้ IoT เกิดขึ้น
ได้จริงและสรา้ งผลกระทบในวงกว้างได้ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่

       1) 	เทคโนโลยเี ซนเซอรเ์ พอ่ื การตรวจจบั และการรบั รู้ (Sensors) เชน่ การตรวจจบั การเคลอ่ื นไหว
แกส๊ ความชน้ื เสยี ง แสง สนามแมเ่ หลก็ อณุ หภมู ิ เปน็ ตน้ เพอื่ นำ� ผลทไ่ี ดจ้ ากการตรวจจบั สภาพแวดลอ้ ม
และการรับรู้ต่างๆ ส่งไปประมวลผลในระบบสมองกลฝงั ตัว

       2) 	เทคโนโลยีระบบสมองกลฝังตัว (Embedded systems) เปน็ การประมวลผลดว้ ยวงจรดิจิทลั
เปรยี บเสมอื นคอมพวิ เตอรข์ นาดเลก็ สามารถบนั ทกึ หรอื ตดั สนิ ใจเพอ่ื ประมวลผลการรบั รจู้ ากการตรวจจบั
ค่าจากเซนเซอร์ด้วยตนเอง น�ำค่าท่ีได้ส่งกลับไปแสดงผลหรือตัดสินใจควบคุมการกระท�ำต่อเหตุการณ์
ดังกล่าว เช่น การปรับอุณหภูมิอัตโนมัติทางไกล การตรวจจับการเคล่ือนไหวเพื่อการควบคุมอุปกรณ์
การสื่อสารกันระหว่างอุปกรณ์ต่ออุปกรณ์ (M2M: machine to machine) เป็นต้น ผ่านเครือข่ายการ
สื่อสารมีสายและไรส้ าย

       3) 	เทคโนโลยีที่ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ จากปรมิ าณขอ้ มูลทม่ี มี หาศาลจากการตรวจจบั และ
การรับร้จู ากอุปกรณท์ ่ีมคี วามเป็นอิสระตอ่ กนั หรอื ท�ำงานรว่ มกนั ท่มี สี ะสม เช่น เทคโนโลยกี ารประมวลผล
แบบคลาวด์ เทคโนโลยีการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่หรือ Big Data Analytics สามารถวิเคราะห์
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73