Page 14 - ประวัติศาสตร์การเมืองและเศรษฐกิจไทย
P. 14

15-4 ประวตั ิศาสตรก์ ารเมอื งและเศรษฐกจิ ไทย

ตอนท่ี 15.1
การเมืองและเศรษฐกิจในสมัยรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา

โปรดอ่านหัวเรื่อง แนวคิด และวัตถปุ ระสงค์ของตอนที่ 15.1 แลว้ จึงศึกษารายละเอยี ดตอ่ ไป

  หัวเร่ือง

          15.1.1			การเมืองในสมยั รฐั บาลพลเอกประยุทธ์ จันทรโ์ อชา
          15.1.2			เศรษฐกิจในสมัยรัฐบาลพลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา
          15.1.3			ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งการเมอื งและเศรษฐกจิ ในสมยั รฐั บาลพลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา

  แนวคิด

          1.	การเมอื งในสมยั รฐั บาลพลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา ชว่ งตน้ มคี วามชอบธรรมทางการเมอื ง
             คอ่ นขา้ งสงู อนั เนอ่ื งมาจากสถานการณค์ วามขดั แยง้ ทางการเมอื งในสงั คมไทย อยา่ งไร
             ก็ตาม ในเวลาต่อมาเกิดผลกระทบต่อความเชื่อม่ันทางการเมืองและความเชื่อม่ันทาง
             เศรษฐกจิ ได้ทำ� ใหเ้ กดิ ข้อวพิ ากษ์วิจารณ์อยา่ งกว้างขวาง

          2.	เศรษฐกิจในสมยั รัฐบาลพลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา มงุ่ เน้นการขบั เคลอื่ นด้วยนโยบาย
             ของภาครัฐเป็นส�ำคัญ อย่างไรก็ตาม การมีส่วนร่วมของสังคมกลับกลายเป็นปัญหา
             อปุ สรรคของการขบั เคลอื่ นเศรษฐกจิ เนอื่ งจากรฐั บาลชดุ นี้ ไมไ่ ดม้ ที มี่ าจากการเลอื กตงั้
             จงึ ขาดกลไกและกระบวนการเช่ือมตอ่ กบั สังคมและประชาชนในทางนโยบาย

          3.	สภาพการณ์ทางการเมอื งและเศรษฐกจิ ในสมยั รัฐบาลพลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา ชว่ ง
             2 ปแี รกยงั คอ่ นขา้ งซบเซา ทง้ั จากปญั หาภายในทม่ี คี วามขดั แยง้ ทางการเมอื งตดิ ตอ่ กนั
             หลายปี และปญั หาเศรษฐกจิ โลกทย่ี งั ไมฟ่ น้ื ตวั แมต้ อ่ มาอตั ราการขยายตวั ทางเศรษฐกจิ
             ของประเทศจะเพิ่มข้ึน แต่ส่วนใหญ่เกิดจากการอัดฉีดของภาครัฐเป็นหลัก และส่งผล
             กระทบตอ่ หนส้ี าธารณะของประเทศอยา่ งมากมาย โดยในระยะหลงั เรม่ิ เหน็ สญั ญาณการ
             สง่ ออกและการลงทนุ ของเอกชนท่ีเพิ่มข้นึ บา้ ง อย่างไรกต็ าม ในแงก่ ารส่งผา่ นลงไปยงั
             ภาคเศรษฐกจิ จรงิ กลบั เหน็ ไมช่ ดั เจนเทา่ ไหรน่ กั ไมว่ า่ จะเปน็ คา่ จา้ งแรงงานหรอื การจา้ งงาน
             สอดคล้องกับการก่อหน้ีครัวเรือนของประชาชนท่ียังปรับตัวสูงข้ึนต่อเนื่องสวนทางกับ
             การเติบโตของเศรษฐกิจ ส่งผลให้แม้การบริโภคของเอกชนจะปรับสูงขึ้นต่อเน่ือง แต่
             ไม่สามารถบอกได้ว่าจะเปน็ การเตบิ โตที่ย่งั ยนื หรอื ไม่
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19