Page 93 - พื้นฐานทางวิศวกรรมเครื่องกล สำหรับเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
P. 93

ระบบท่อ ป๊ัม เครอ่ื งอัดอากาศและเครอื่ งระบายอากาศ 14-83
สามารถทำ� การแบง่ ประเภทของเครอ่ื งอดั อากาศประเภทนไี้ ดเ้ ปน็ ลกั ษณะตา่ งๆ ดงั นี้ เครอ่ื งอดั อากาศแบบ
ครบี เคลอื่ นเขา้ -ออก เครอ่ื งอดั อากาศแบบลกู สบู เหลว เครอื่ งอดั อากาศแบบลอนตรงสองใบพดั เครอ่ื งอดั -
อากาศแบบเกลียวก้นหอยและขดวง

       3. 	เคร่ืองอัดอากาศประเภทน้ีใช้หลักการทางด้านพลศาสตร์ในการอัดอากาศ ท�ำงานโดยการ
เปล่ียนแปลงพลังงานให้เป็นความกดดัน ทิศทางการเคลื่อนที่ของอากาศจะถูกเหว่ียงออกไปในแนวรัศมี
ลมดดู จะเขา้ ไปสแู่ กนกลางของเพลา และถกู เหว่ยี งตัวออกไปในแนวรศั มขี องใบพัดส่ผู นังเคร่ืองอัดและถูก
ส่งไปตามระบบทอ่

       การอดั อากาศสามารถกระทำ� ได้ 3 วธิ ี ไดแ้ ก่ กระบวนการอดั อากาศทอี่ ณุ หภมู คิ งท่ี กระบวนการ
อัดอากาศท่ไี ม่มีการถ่ายเทความรอ้ น และกระบวนการอดั อากาศแบบโพลที รอปคิ

เร่ืองที่ 14.3.2
หลักการท�ำงานและประเภทของเครื่องระบายอากาศ

       เครอ่ื งระบายอากาศ คอื เครอื่ งมอื ทใ่ี ชใ้ นการจดั ระบบการถา่ ยเทอากาศจากภายนอกอาคารเขา้ มา
ภายในอาคาร สามารถแยกออกเป็น 2 ประเภท คอื เคร่ืองเป่าอากาศ (air blower) และพดั ลมระบาย
อากาศ (fan)

1. 	เคร่ืองเป่าอากาศ

       1.1 	หลักการท�ำงานของเคร่ืองเป่าอากาศ โดยท่ัวไปเคร่ืองเป่าอากาศมีการท�ำงานที่มีลักษณะ
คล้ายกับการท�ำงานของเคร่ืองปั๊มหรือเคร่ืองอัดอากาศดังท่ีกล่าวมาแล้ว ซึ่งอาศัยหลักแรงเหว่ียงหนี
ศูนยก์ ลาง ดังภาพที่ 14.63 เม่อื เปรยี บเทียบกราฟแสดงคุณลักษณะท่ไี ด้จากการคำ� นวณของเครอ่ื งเป่า-
อากาศกบั ปม๊ั ผลทอี่ อกมามแี นวโนม้ และรปู รา่ งคลา้ ยกนั เนอื่ งมาจากการทำ� งานของเครอื่ งจกั รทง้ั สองนนั้
มีลักษณะการท�ำงานคล้ายกันแต่เปล่ียนสารท�ำงานจากของเหลวหรือน�้ำเป็นอากาศหรือก๊าซ การเร่ิมต้น
ท�ำงานของเคร่ืองเป่าอากาศอาศัยการส่งก�ำลังจากมอเตอร์ไฟฟ้าผ่านทางสายพานมายังเฟืองถ่ายก�ำลัง
เพ่อื ทำ� ใหส้ ามารถปรบั เปล่ยี นความเร็วรอบในการส่งก�ำลงั ไปยงั เคร่ืองระบายอากาศได้
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98