Page 19 - ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์
P. 19
ความม่ันคงปลอดภยั ระบบคลาวด์ 9-7
2.3 ด้านประสิทธิภาพ (Performance) สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทำ� งานและมคี วามเสถียร
ของระบบ แตอ่ าจตอ้ งมีระบบส่ือสารบนอนิ เทอรเ์ นต็ ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพดว้ ย
2.4 การลดภาระต้นทุน (Minimized capital expenditure) ช่วยลดต้นทุนและลดภาระตน้ ทนุ
เก่ียวกบั การตดิ ตัง้ และบ�ำรุงรกั ษาอปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์และซอฟต์แวร์ประมวลผลขนาดใหญ่
2.5 ความเป็นอิสระต่อกันของอุปกรณ์และสถานท่ีต้ัง (Device and location independence)
ท�ำให้อุปกรณ์และสถานท่ีตั้งไม่ข้ึนต่อกัน ผู้ใช้สามารถเรียกดูข้อมูลได้จากทุกแห่งทั่วโลกที่สามารถเข้าถึง
ระบบอนิ เทอร์เนต็ ได้ และสามารถใชอ้ ุปกรณไ์ ดห้ ลากหลายรปู แบบทั้งคอมพวิ เตอร์ หรอื สมารต์ โฟนได้
3. ประเภทของระบบคลาวด์
ประเภทของระบบคลาวดส์ ามารถจำ� แนกไดห้ ลายลกั ษณะ ไดแ้ ก่ จำ� แนกตามการใชง้ าน (Deployment
based) และจ�ำแนกตามการให้บริการ (Service based) ส�ำหรับระบบคลาวดด์ งั น้ี
3.1 จ�ำแนกตามการใช้งาน การประมวลผลคลาวดจ์ ำ� แนกตามการใช้งาน (Cloud deployment)
เป็นรูปแบบการปรับใช้การประมวลผลคลาวด์จะข้ึนอยู่กับสถานที่ตั้ง (location) เพ่ือให้ทราบถึงรูปแบบ
การนำ� ไปปรบั ใชง้ านทเ่ี หมาะสมกบั ความตอ้ งการขององคก์ ร โดยแบง่ ตามรปู แบบการนำ� ไปใชง้ านมที ง้ั หมด
4 ประเภท ดังแสดงในภาพท่ี 9.1 มรี ายละเอียดดังนี้
คลาวด์แบบผสม
คลาวด์สาธารณะ คลาวดส์ ว่ นบุคคล คลาวด์ชมุ ชน
ภาพท่ี 9.1 รูปแบบการประมวลผลคลาวด์แบบน�ำไปใช้งาน
3.1.1 คลาวด์สาธารณะ (Public Cloud) เป็นประเภทของบริการคลาวด์สง่ ผ่านเครือข่าย
เพอ่ื การใชง้ านแบบสาธารณะ ซงึ่ ลกู คา้ ไมส่ ามารถควบคมุ ตำ� แหนง่ ของโครงสรา้ งพนื้ ฐานได้ และคา่ ใชจ้ า่ ย
จะถกู แชรโ์ ดยผใู้ ชท้ งั้ หมดหรอื ไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ย หรอื อยใู่ นรปู แบบของนโยบายสทิ ธก์ิ ารใชง้ าน เชน่ การจา่ ย
บรกิ ารตอ่ จำ� นวนผใู้ ชง้ าน เปน็ ตน้ คลาวดส์ าธารณะเหมาะสำ� หรบั องคก์ รทตี่ อ้ งการจดั การเจา้ ของแอปพลเิ คชนั
หรือโฮสต์ (Host application) และแอปพลิเคชันต่างๆ ที่ผู้ใช้น�ำไปใช้งาน ตัวอย่างคลาวด์สาธารณะ
เช่น GoogleCloud MicrosoftAzure Office365 เป็นต้น