Page 9 - การผลิตภาพยนตร์เบื้องต้น
P. 9

(7)
มากน้อยเพียงใดอันจะเป็นประโยชน์ส�ำหรับนักศึกษาในแง่ของการท�ำข้อสอบเพ่ือการประเมินผลคร้ัง
สุดท้ายของชุดวิชาและการได้รับความรู้อย่างแท้จริง ฉะนั้นนักศึกษาจึงควรปฏิบัติกิจกรรมทุกอย่างด้วย
ตนเองตามล�ำดับ

4.	 การชมวีดิทัศน์

       ชุดวิชาการผลิตภาพยนตร์เบื้องต้นมีวีดิทัศน์เป็นส่ือเสริมประกอบชุดวิชาท้ังหมด 4 รายการ
รายการละประมาณ 30 นาที วีดิทัศน์ประกอบชุดวิชามีจ�ำหน่ายส�ำหรับนักศึกษาท่ีสนใจสั่งซื้อเพ่ิมเติม
แต่หากนักศึกษาไม่ส่ังซื้อก็ไม่เป็นอุปสรรคต่อการศึกษา

5.	 การเข้ารับการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะภาคสนาม

       นอกจากการศึกษาในภาคทฤษฎแี ล้ว ชุดวชิ าการผลติ ภาพยนตรเ์ บื้องต้นยังกำ� หนดใหม้ ีกจิ กรรม
ภาคปฏิบัติส�ำหรับนักศึกษาท่ีลงทะเบียนชุดวิชานี้ ได้แก่ กิจกรรมการท�ำแบบฝึกปฏิบัติเสริมทักษะด้วย
ตนเอง และการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะภาคสนาม ตามท่ีสาขาวิชานิเทศศาสตร์ก�ำหนด

6.	 การรับบริการ ณ ศูนย์บริการการศึกษา

       นักศึกษาอาจรับชมวีดิทัศน์ได้ท่ีศูนย์บริการการศึกษา และยังค้นคว้าหนังสือหรือเอกสารต่างๆ
ท่ีจัดเตรียมไว้ท่ีห้องสมุดของศูนย์บริการการศึกษา

       ในการขอรับบริการ ณ ศูนย์บริการการศึกษา นักศึกษาจะต้องน�ำบัตรประจ�ำตัวนักศึกษาและ
บัตรลงทะเบียนเรียนชุดวิชาไปแสดงด้วย

7.	 การประเมินผล

       การประเมินผลการเรียนชุดวิชาการผลิตภาพยนตร์เบื้องต้นแบ่งคะแนนเป็น 2 ส่วน ดังน้ี
       7.1 	การประเมินผลภาคปฏิบัติ ร้อยละ 60 จากการเข้ารับการฝึกปฏิบัติเสริมทักษะภาคสนาม
และการท�ำแบบฝึกปฏิบัติเสริมทักษะ
       7.2		การประเมินผลภาคทฤษฎีจากการสอบไล่ชุดวิชา เม่ือสิ้นภาคการศึกษา ร้อยละ 40 โดย
นักศึกษาต้องเข้าสอบไล่ ณ สนามสอบที่จัดไว้ตามวันและเวลาที่ก�ำหนด
       นกั ศกึ ษาตอ้ งนำ� บตั รประจำ� ตวั นกั ศกึ ษาและบตั รประจำ� ตวั ประชาชนหรอื บตั รประจำ� ตวั ขา้ ราชการ
อย่างน้อย 2 บัตรโดยมีบัตรประจ�ำตัวนักศึกษาเป็นบัตรหลักติดตัวเพ่ือเข้าห้องสอบ หากไม่มี 2 บัตรน้ี
จะไม่มีสิทธิ์เข้าสอบไล่
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14