Page 38 - การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ
P. 38

6-26 การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชงิ วัตถุ
กไ็ ด้ และการพจิ ารณาแอค็ เตอรใ์ หค้ ำ� นงึ ถงึ บทบาท (role) ไมใ่ ชต่ วั บคุ คลคนใดคนหนงึ่ เนอ่ื งจากคนบางคน
อาจมหี ลายบทบาท รวมทง้ั บางบทบาทอาจท�ำได้หลายคน เช่น บรรณารักษ์ หรอื สมาชกิ หอ้ งสมดุ อาจ
มีได้หลายคน แต่ไม่ว่าเป็นใครเมื่อสวมบทบาทน้ันแล้วจะเกี่ยวข้องกับระบบเหมือนกันในลักษณะของ
บทบาทนั้น ในขณะที่คนคนหนึ่งอาจเป็นทั้งสมาชิกห้องสมุดและบรรณารักษ์ การเก่ียวข้องกับระบบจะ
เก่ียวข้องตามบทบาทท่ีเป็นในขณะใดขณะหน่ึง การค้นหาแอ็คเตอร์มีความส�ำคัญอย่างย่ิงเพราะจะน�ำไป
สู่การค้นหายูสเคสทค่ี รบถว้ นได้

       1.2		ความสัมพันธ์แบบโครงสร้างหรือแบบเชื่อมโยง (Association relationship) เป็น
ความสมั พนั ธท์ แ่ี อค็ เตอรก์ ระทำ� รว่ มกนั หรือผ่านไปยังอกี แอค็ เตอร์หนึ่งเพื่อให้เกิดการทำ� กิจกรรมขน้ึ

                           ลกู ค้า	 พนกั งาน
                 ภาพท่ี 6.13 ตัวอย่างความสัมพันธ์ของแอ็คเตอร์พนักงานแบบท่ัวไป
       จากภาพที่ 6.13 ลกู คา้ โรงแรมตอ้ งการจองหอ้ งพกั ของโรงแรมโดยการแจง้ ผา่ นไปยงั พนกั งานของ
โรงแรมเพ่อื ทำ� การตรวจสอบหอ้ งว่าง และจองห้องพักโรงแรมให้ลูกค้า

2.	 ความสัมพันธ์ระหว่างยูสเคสกับยูสเคส

       2.1 ความสัมพันธ์ระหว่างยูสเคสแบบทั่วไป (Generalization relationship) โดยทยี่ สู เคสทเี่ ปน็
ผถู้ า่ ยทอดให้ จะถูกเรียกว่า พาเรนทย์ สู เคส (parent Use case) หรือยูสเคสพ่อแม่ และยสู เคสทเ่ี ป็นผรู้ ับ
การถา่ ยทอดจะถกู เรยี กวา่ ชายยสู เคส (child Use case) หรอื ยสู เคสลกู ดงั แสดงในตวั อยา่ ง ภาพท่ี 6.14
เปน็ การแสดงความสมั พนั ธข์ องชายยสู เคสกบั พาเรนทย์ สู เคส โดยทพี่ าเรนทย์ สู เคสจะเกดิ กอ่ นชายยสู เคส

                                      Parent Use case

                                      Child Use case
                ภาพที่ 6.14 ตัวอย่าง ยูสเคสที่มีความสัมพันธ์แบบทั่วไประหว่างยูสเคส
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43