Page 167 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 167

การพิมพ์และการตกแต่งบรรจุภัณฑ์ 8-33
       จะเห็นได้ว่าเมื่อมีการขยายขอบเขตของตัวอักษร A แล้วจะไม่เกิดขอบขาวขึ้นระหว่างตัวอักษร A และ	
พื้นหลัง

   A

                                 ภาพที่ 8.30 ภาพพิมพ์ที่ทำ�แทรปปงิ แลว้

ท่มี า: http://www.graphics.com/modules.php?name=Sections&op=viewarticle&artid=762, Retrieved 29 October 2012

4. 	การวางหน้างานพมิ พ์

       การวางหนา้ งานพิมพส์ �ำ หรบั งานพมิ พ์บรรจภุ ัณฑ์ เป็นขั้นตอนการวางชิน้ งานใหไ้ ดจ้ ำ�นวนมากทีส่ ดุ บนวสั ดุใช้
พิมพ์ที่ต้องการพิมพ์ ไม่ว่าจะอยู่ในลักษณะแผ่น หรือม้วน หากเป็นการพิมพ์แบบป้อนแผ่น จะมีการเผื่อระยะสำ�หรับ
การตัดซอยหรือการอัดตัดตามแม่แบบดายคัตด้วย ระยะที่เผื่อขึ้นกับลักษณะของงานและความหนาของวัสดุ  

       การวางหน้างานพิมพ์สำ�หรับงานประเภทฉลากที่เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมวางได้ 2 แนว คือ แนวตั้งและแนว
นอน แต่ต้องพิจารณาแนวเกรนกระดาษประกอบด้วย แนวเกรนกระดาษต้องสัมพันธ์กับลักษณะการติดฉลากบน	
บรรจุภัณฑ์ กล่าวคือ ให้แนวเกรนที่เป็นแนวขนานเครื่อง (machine direction: MD) ตั้งฉากกับลำ�ตัวขวด ดังแสดง
ในภาพที่ 8.32 หากเป็นฉลากรูปทรงอื่น อาจมีการวางเหลื่อมกันได้เพื่อประหยัดกระดาษ อย่างไรก็ตามต้องคำ�นึงถึง
แนวเกรนกระดาษที่จะนำ�ไปติดบนบรรจุภัณฑ์เช่นเดียวกับฉลากทรงสี่เหลี่ยมและต้องวางให้เป็นแนวเดียวกันทั้งหมด
ไม่ควรสลับแนวเกรนกระดาษ มิฉะนั้นจะมีปัญหาในการนำ�ฉลากไปใช้งาน

                              ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172