Page 174 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 174

8-40 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์

            - 	 ปรู๊ฟที่ใช้ยึดถือเป็นข้อตกลงระหว่างผู้ว่าจ้างกับโรงพิมพ์ (contract proof) สามารถผลิตจาก	
ปรู๊ฟดิจิทัล ปรู๊ฟจากเครื่องพิมพ์ปรู๊ฟ หรือปรู๊ฟจากเครื่องพิมพ์จริงก็ได้ ขึ้นกับระดับการยอมรับของลูกค้าว่ายอมรับ
คุณภาพของปรู๊ฟระดับใด

6. 	การท�ำ แม่พิมพ์

       การทำ�แม่พิมพ์   เป็นขั้นตอนการสร้างภาพบนวัสดุสำ�หรับทำ�แม่พิมพ์ที่ใช้เป็นต้นแบบในการพิมพ์แบบใช้	
แรงกด อาจทำ�ก่อนหรือหลังการปรู๊ฟ ขึ้นกับว่าจะนำ�แม่พิมพ์นั้นไปใช้ปรู๊ฟด้วยหรือไม่ การทำ�แม่พิมพ์ถือเป็นขั้นตอน
สุดท้ายของงานก่อนพิมพ์ เทคโนโลยีล่าสุดที่ใช้การทำ�แม่พิมพ์ คือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สู่แม่พิมพ์ เป็นการสร้าง
ภาพบนแม่พิมพ์โดยตรงจากข้อมูลดิจิทัลบนคอมพิวเตอร์โดยที่ไม่ต้องทำ�ฟิล์ม เทคโนโลยีนี้จึงช่วยลดขั้นตอนการทำ�
แม่พิมพ์ให้น้อยลงกว่าการทำ�แม่พิมพ์แบบเดิมที่ต้องใช้ฟิล์มเป็นต้นแบบในการสร้างภาพบนแม่พิมพ์

       การทำ�แม่พิมพ์มีวิธีการท�ำ ที่แตกต่างกันในแต่ละระบบการพิมพ์ ในที่นี้ขอยกตัวอย่างการท�ำ แม่พิมพ์สำ�หรับ
ระบบการพิมพ์ที่นิยมใช้ในการพิมพ์บรรจุภัณฑ์ ได้แก่ แม่พิมพ์เฟล็กโซกราฟี แม่พิมพ์กราวัวร์ แม่พิมพ์ออฟเซตลิโท-	
กราฟี และแม่พิมพ์สกรีน

       6.1 การทำ�แม่พิมพ์เฟล็กโซกราฟี วัสดุที่ใช้ทำ�แม่พิมพ์เฟล็กโซกราฟีมี 2 ประเภท คือ ยาง และพอลิเมอร์
ไวแสงหรือโฟโตพอลิเมอร์ (photopolymer) แม่พิมพ์ที่ใช้กันส่วนใหญ่ในปัจจุบัน คือ แม่พิมพ์โฟโตพอลิเมอร์
กระบวนการทำ�แม่พิมพ์มี 2 ขั้นตอน ประกอบด้วย การสร้างภาพและการล้างสร้างภาพบนแม่พิมพ์

            6.1.1 การสรา้ งภาพบนแม่พมิ พ์ มี 2 แบบ คือ แบบใช้ฟิล์มและแบบไม่ใช้ฟิล์ม
                1) 	การทำ�แม่พิมพ์แบบสร้างภาพโดยใช้ฟิล์ม นำ�ฟิล์มเนกาทิฟวางบนผิวหน้าแม่พิมพ์ ฉายรังสี

ยูวีผ่านฟิล์มไปยังผิวหน้าแม่พิมพ์ตามเวลาที่ทดสอบว่าเหมาะสมกับชนิดของแม่พิมพ์ จากนั้นนำ�แม่พิมพ์ไปล้าง	
สร้างภาพ

                2) 	การทำ�แม่พิมพ์แบบสร้างภาพโดยไม่ใช้ฟิล์ม การทำ�แม่พิมพ์แบบนี้อาจเรียกได้ว่าเป็นการทำ�
แม่พิมพ์แบบคอมพิวเตอร์สู่แม่พิมพ์ (computer-to-plate: CTP) แม่พิมพ์แบบนี้เป็นแม่พิมพ์ที่มีสารเคลือบสีดำ�อยู่
บนผิวหน้าแม่พิมพ์ทำ�หน้าที่เสมือนเป็นฟิล์ม เครื่องทำ�แม่พิมพ์แบบนี้ใช้เลเซอร์ทำ�ให้สารสีดำ�ที่เคลือบอยู่หลุดออกไป
(ablation) ซึ่งบริเวณที่สารเคลือบสดี �ำ นี้หลุดออกไปแลว้ จะตรงกับบริเวณภาพ จากนั้นน�ำ แม่พมิ พไ์ ปฉายรังสยี วู ตี อ่ ไป
เช่นเดียวกับการทำ�แม่พิมพ์แบบใช้ฟิล์ม

                                          ชั้นปกป้องผิวหน้า

                                          ชั้นสารเคลือบ

                                           ชั้นสารไวแสง

                    ชั้นฐานรองรับ

	 ก. แบบใช้ฟิล์ม 	                                                 ข. แบบไม่ใช้ฟิล์ม

                    ภาพท่ี 8.39 โครงสรา้ งแมพ่ มิ พเ์ ฟล็กโซกราฟี

                    ลิขสทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช
   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179