Page 177 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 177
แหล่งกำ�เนิดแสง การพิมพ์และการตกแต่งบรรจุภัณฑ์ 8-43
แหล่งกำ�เนิดแสง
ฟิล์ม (ประกอบด้วยบริเวณภาพและบริเวณไร้ภาพ)
ชั้นสารไวแสงบนแม่พิมพ์ ชั้นสารไวแสงบนแม่พิมพ์
ชั้นฐานแม่พิมพ์ ชั้นฐานแม่พิมพ์
ก. แบบใช้ฟิล์ม ข. แบบคอมพิวเตอร์สู่แม่พิมพ์
ภาพท่ี 8.42 การทำ�แม่พิมพอ์ อฟเซตลโิ ทกราฟี
6.4 การท�ำ แม่พิมพ์สกรนี แม่พิมพ์สกรีนเกิดจากการนำ�วัสดุที่มีลักษณะเป็นเส้นเล็กละเอียดมาทอประสาน
กันเป็นแผ่น เรียกว่า เมช (mesh) หรือที่ในอุตสาหกรรมการพิมพ์สกรีนเรียกว่า “ผ้าสกรีน” วัสดุที่นิยมนำ�มาใช้ ได้แก่
เส้นใยโลหะ และเส้นใยสังเคราะห์จากพลาสติก จากนั้นนำ�ผ้าสกรีนมาขึงให้ตึงและขึ้นบนกรอบ (frame) กรอบที่ใช้
อาจทำ�จากไม้หรือโลหะก็ได้
วิธีการทำ�ให้เกิดบริเวณภาพและบริเวณไร้ภาพบนแม่พิมพ์สกรีนทำ�ได้หลายวิธี ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างเพียง
หนึง่ วธิ ี คอื การใชส้ ารไวแสง ท�ำ ไดโ้ ดยการเคลอื บดว้ ยสารไวแสงบนผา้ สกรนี ทีข่ งึ บนกรอบ ตอ่ จากนัน้ นำ�ฟลิ ม์ ตน้ แบบ
ไปประกบบนชั้นสารไวแสง นำ�ไปฉายรังสียูวีตามระยะเวลาที่เหมาะสม จากนั้นนำ�ไปล้างให้บริเวณที่ต้องการให้เกิด
ภาพหลุดออกไป เหลือเฉพาะสารไวแสงที่แข็งตัวเกาะบริเวณไร้ภาพในลักษณะที่อุดช่องผ้าสกรีนไว้ เพื่อทำ�หน้าที่กั้น
หมึกพิมพ์ไม่ให้ไหลลอดไปติดวัสดุใช้พิมพ์ในขั้นตอนการพิมพ์งาน จะได้แม่พิมพ์สกรีนที่มีบริเวณภาพตามต้องการ
แม่พิมพ์สกรีนมี 3 แบบ คือ แบบแท่นราบ เหมาะสำ�หรับสิ่งพิมพ์บรรจุภัณฑ์ที่มีลักษณะเป็นแผ่นราบ เช่น
ฉลาก หรือกล่องที่พับแบนได้ แบบที่สอง คือ แบบที่โค้งตามรูปทรงของบรรจุภัณฑ์ เหมาะกับบรรจุภัณฑ์ที่มีรูปทรง
เช่น ขวดแชมพู แบบที่สาม คือ แบบโรตารีหรือทรงกระบอก เหมาะสำ�หรับสิ่งพิมพ์ที่มีลักษณะเป็นม้วนต่อเนื่อง เช่น
การพิมพ์ฉลากแบบม้วนที่ต้องการงานจำ�นวนมาก
ลิขสทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช