Page 351 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 351
บรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน 15-29
6. ผู้บรโิ ภค
ผบู้ รโิ ภคเปน็ กล ุม่ ท มี่ คี วามส ำคญั ต อ่ ว ฏั จกั รช วี ติ บ รรจภุ ณั ฑ์ มฉิ ะนัน้ ผ ลติ ภณั ฑห์ รอื ส นิ คา้ ต า่ ง ๆ ทผี่ ลติ อ อกม า
จะไม่สามารถจำหน่ายได้ ถ้าไม่เป็นไปตามที่ผู้บริโภคต้องการ สิ่งที่ผู้บริโภคต้องการ คือ 1) การให้ข้อมูลที่คำนึงถึง
การใช้และการกำจัด 2) ความง่ายต่อการใช้งาน อาทิ การเปิดและปิด 3) การแบ่งเป็นสัดส่วนเพื่อการบริโภค และ
4) การเก็บรักษาคุณภาพผลิตภัณฑ์หรือสินค้าที่บรรจุตลอดการใช้งาน การดำเนินชีวิตของผู้บริโภคมีผลกระทบต่อ
การพ ัฒนาบ รรจุภ ัณฑ์ท ี่ย ั่งยืน ผู้บ ริโภคม ีห ลายก ลุ่ม อาทิ กลุ่มค รอบครัวใหญ่ กลุ่มค รอบครัวเดี่ยว กลุ่มค รอบครัวใน
เมืองใหญ่ กลุ่มค รอบครัวในช นบท มคี วามต ้องการผ ลิตภัณฑแ์ ละบ รรจภุ ัณฑร์ ูปแ บบแ ละข นาดต ่าง ๆ กัน ตัวอย่างเช่น
แนวโน้มในสังคมที่พ ัฒนาแล้ว ครอบครัวมีข นาดเล็กล ง จำนวนคนท ี่อยู่ค นเดียวห รืออยู่เป็นโสดมีม ากขึ้น มีวิถีช ีวิตที่
เร่งร ีบแ ละต ้องการค วามส ะดวก จึงม ีค วามต ้องการอ าหารพ ร้อมบ ริโภคเพิ่มม ากข ึ้น ผลิตภัณฑ์แ ละบ รรจุภ ัณฑ์ม ีข นาด
เล็กลง ใช้บริโภคครั้งเดียว (single serving) หรือผ ลิตภัณฑ์ได้รับก ารบรรจุเป็นขนาดย ่อย ๆ มากขึ้น ทำให้ม ีการใช้
บรรจภุ ัณฑต์ ่อห น่วยม ากข ึ้น การท ีผ่ ูบ้ ริโภคก ลุ่มน ี้ ซื้อส ินค้าท ีบ่ รรจใุนบ รรจภุ ัณฑข์ นาดใหญไ่ม่ใชส่ ิ่งท ีเ่หมาะส ม เพราะ
ทำให้มีข องเสียจ ากผลิตภัณฑ์ที่บริโภคไม่ห มดมากข ึ้น ส่งผลกร ะท บต่อส ิ่งแวดล้อมมากข ึ้นด้วย แต่ถ ้าผู้บ ริโภคนิยม
ใช้สินค้าตามขนาดที่เหมาะสม บรรจุภัณฑ์ขนาดเล็กลงตามสัดส่วนของขนาดครอบครัว ทำให้มีการใช้ทรัพยากรต่อ
หน่วยน ้อยลง ซึ่งช ่วยล ดผลกร ะท บโดยรวมทางเศรษฐกิจและส ิ่งแวดล้อมได้
7. ผู้ก ำจัดซากบ รรจภุ ณั ฑ์
สิ่งที่ผู้กำจัดซากบรรจุภัณฑ์ต้องการจากซากบรรจุภัณฑ์ คือ ทำอย่างไร จึงสามารถกำจัดซากบรรจุภัณฑ์
ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งประกอบด้วย ขั้นตอนสำคัญ 3 ขั้นตอน คือ 1) การจัดเก็บบรรจุภัณฑ์ที่ใช้แล้ว 2) การนำกลับ
บรรจุภัณฑ์ม าใช้ซ ้ำ รีไซเคิล รวมท ั้งเปลี่ยนเป็นพลังงานมาใช้ประโยชน์ และ 3) การทิ้งโดยการฝังกลบ
7.1 การจ ดั เกบ็ บ รรจภุ ณั ฑท์ ใ่ี ชแ้ ลว้ เพื่อใหเ้กิดป ระสิทธิภาพแ ละส ่งผ ลกร ะท บต ่อส ิ่งแ วดล้อมน ้อยท ี่สุด ระบบ
การนำซ ากบ รรจุภ ัณฑ์ก ลับค ืนท ั้งหมดจ ำเป็นต ้องท ำให้ม ีอ ัตราก ารนำก ลับข องซ ากบ รรจุภ ัณฑ์ส ูง ทั้งนี้ข ึ้นอ ยู่ก ับป ัจจัย
ที่ไม่อยู่ในการควบคุมของกลุ่มสายโซ่อุปทาน (supply chain) ของบรรจุภัณฑ์ ได้แก่ ความตระหนักของผู้บริโภค
ประชากรศาสตรภ์ ายในท อ้ งถ ิน่ ความส ะดวกข องก ารนำก ลบั อ ยา่ งม ปี ระสทิ ธภิ าพ และเทคโนโลยรี ไี ซเคลิ ปจั จยั ด งั ก ลา่ ว
มีอิทธิพลต่อผลการจัดเก็บและการจัดการซากบรรจุภัณฑ์ที่ได้ ซึ่งหมายความว่า ต้องออกแบบการจัดเก็บและการ
จัดการซ ากบรรจุภ ัณฑ์ให้แ ตกต่างก ันตามภ ูมิภาค ตัวอย่างเช่น การเก็บแ ยกซากบ รรจุภัณฑ์แ ต่ละชนิด ต้องพ ิจารณา
ถึงก ารร ีไซเคิลท ีค่ ุ้มท ุน ซึ่งป ระกอบด ้วยต ้นทุนค ่าจ ัดเก็บ ค่าแ ยกซ าก และค ่าข นส่ง เพื่อก ่อใหเ้กิดค วามย ั่งยืน ซึ่งจ ำเป็น
ต้องอ าศัยความร่วมมือก ันข องผู้ม ีส่วนเกี่ยวข้องไม่ว ่า จะเป็นผู้บัญญัติและบังคับใช้กฎหมาย เทศบาลท ้องถิ่น บริษัท
กำจัดขยะ ผู้ค ้าป ลีก เจ้าของส ินค้า ผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ และผ ู้บ ริโภค ต้องม าอ อกแบบร ่วมก ันเพื่อหาวิธีก ารท ี่เหมาะสม
ที่สุดในก ารจัดเก็บซากบ รรจุภ ัณฑ์ในพื้นที่แ ต่ละแห่ง
7.2 การนำบรรจุภัณฑ์กลับมาใช้ซ้ำ รีไซเคิล และเปลี่ยนเป็นพลังงานมาใช้ประโยชน์ เป็นหนึ่งในเป้าหมาย
สำคัญของกรอบระเบียบของเสียของสหภาพยุโรป 2008/98/EC (the European Union’s Waste Framework
Directive (2008/98/EC)) คือ เพื่อป ้องกันแ ละลดก ารเกิดขยะบรรจุภัณฑ์ ดังนี้
7.2.1 การนำบ รรจภุ ณั ฑก์ ลบั ม าใชซ้ ำ้ หมายถ ึง กระบวนการน ำบ รรจภุ ัณฑก์ ลับไปบ รรจหุ รอื ห บี ห่อใหม่
ในโรงงาน นำมาใช้ใหม่ได้เลยโดยไม่ผ ่านการแ ปรส ภาพ เช่น ขวดแก้วบรรจุน้ำอ ัดลม ขวดแ ก้วบรรจุน ้ำปลา เป็นต้น
บรรจภุ ัณฑท์ ีก่ ลบั ม าใชซ้ ้ำต ้องม คี วามแ ขง็ แ รงท ีส่ ามารถน ำก ลบั ม าใชซ้ ำ้ ไดห้ ลาย ๆ ครั้ง จนกวา่ จ ะไมส่ ามารถห มนุ เวยี น
กลับม าใช้ซ้ำได้อ ีก จึงน ำกลับคืนในรูปอ ื่นต่อไป เช่น การนำไปรีไซเคิล
ลิขสทิ ธิข์ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช