Page 361 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 361
บรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน 15-39
ไดแ้ ก่ การใชซ้ ำ้ การร ไี ซเคลิ และก ารนำไปเผาใหพ้ ลงั งานก ลบั ค นื ม า ซึง่ ว ธิ กี ารเหลา่ น ี้ ในร ะบบก ารจ ดั การซ ากบ รรจภุ ณั ฑ์
ควรเลือกดำเนินการเพื่อการใช้ซ้ำเป็นอันดับแรก ทั้งนี้เพื่อลดปริมาณการใช้ทรัพยากรในการผลิตใหม่ แต่ถ้าการใช้
ซ้ำซากบรรจุภัณฑ์นั้นไม่สามารถทำได้หรือไม่คุ้มค่าใช้จ่าย ควรพิจารณาวิธีการรีไซเคิลเป็นลำดับถัดไป เพื่อช่วยลด
การใช้พลังงานและวัตถุดิบในการผลิต แต่ถ้าการรีไซเคิลซากบรรจุภัณฑ์นั้นไม่สามารถทำได้หรือไม่คุ้มค่าใช้จ่าย จึง
พิจารณาการเผาเพื่อให้เป็นพลังงานกลับคืนมา และถ้าพิจารณาแล้วยังให้ค่าพลังงานที่ได้ไม่คุ้มค่า และไม่สามารถ
นำไปใช้ประโยชน์ใหม่ได้ จึงพ ิจารณาว ิธีก ารกำจัดด้วยการทิ้งเป็นอ ันดับสุดท้าย โดยเน้นก ารใช้ทรัพยากรอ ย่างคุ้มค่า
ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนน้อยที่สุด หลักการนี้เป็นหลักการสากลที่ใช้กันทั่วไป โดยสรุปแล้วหลักการ
สำคัญของก ารจ ัดลำดับในก ารเลือกว ิธีก ารนำซากบรรจุภ ัณฑ์กลับม าใช้ป ระโยชน์ตามล ำดับมี 5 ประการ ดังนี้ 1) การ
หลีกเลี่ยงการบริโภคห รือใช้ท ี่ไม่จำเป็น 2) การใช้ซ้ำ 3) การรีไซเคิล 4) การนำพลังงานกลับม าใช้ใหม่ และ 5) การทิ้ง
2. ระบบการจ ัดการซ ากบรรจุภ ัณฑ์
ในต่างประเทศมีระบบการจัดการซากบรรจุภัณฑ์โดยมีหน่วยงานที่รับผิดชอบและลักษณะการดำเนินงาน
ของแ ต่ละประเทศแตกต่างกันไป หน่วยง านท ี่ร ับผิดชอบม ีทั้งหน่วยง านภ าครัฐและภ าคเอกชน ซึ่งเป็นผู้ประกอบการ
ที่ม ีส ่วนเกี่ยวข้อง ลักษณะก ารด ำเนินง านม ีท ั้งร ะบบม ัดจำแ ละก ารจ ัดเก็บค ่าธ รรมเนียม โดยม ีก ารค ัดแ ยก จัดเก็บ และ
รวบรวมต ่าง ๆ ดังนี้
2.1 กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เป็นประเทศที่มีความตระหนักด้าน
ส ิ่งแ วดล้อมอ ย่างม าก และใหค้ วามส ำคัญก ับก ารจ ัดร ะบบจ ัดการก ับซ ากบ รรจุภ ัณฑซ์ ึ่งนานาป ระเทศที่ย อมรับป ระเทศ
สหพันธ์ส าธารณรัฐเยอรมนี ได้เริ่มจ ัดท ำข ้อก ำหนดในก ารย อมรับซ ากบรรจุภ ัณฑ์ท ี่น ำก ลับค ืนม า หรือให้ม ีก ารจ ัดเก็บ
และการรีไซเคิล เมื่อ พ.ศ. 2534 (ค.ศ. 1991) ซึ่งเป็นต้นแ บบให้หลายป ระเทศป ฏิบัติตาม อาทิ เบลเยียม ฝรั่งเศส โดย
มีห น่วยงานที่ร ับผิดช อบและการคัดแ ยก รวบรวม และจัดเก็บ ดังนี้
2.1.1 หนว่ ยง านท รี่ บั ผ ดิ ช อบ คอื DSD (the Duales System Deutschland) เปน็ ห นว่ ยงานท รี่ บั ผ ดิ ช อบ
ด้านการจัดการซากบรรจุภัณฑ์ข องป ระเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี DSD เป็นการร วมกลุ่มของบ ริษัทผ ู้ผลิตและ
ผู้นำเข้าสินค้าและบรรจุภัณฑ์ในประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ลักษณะงานของ DSD เป็นสองระบบ (dual
system) กล่าวคือ เป็นระบบในการนำบรรจุภัณฑ์กลับคืนมา ในขณะเดียวกับระบบการจัดเก็บขยะมูลฝอยปกติ
ใบอนุญาตข อง DSD เป็นที่ร ู้จักกันในล ักษณะข องเครื่องหมายจุดเขียว (green dot) ดังแ สดงในภาพท ี่ 15.18 ซึ่งมี
ลักษณะเป็นลูกศร 2 ตัว เวียนในลักษณะเป็นวัฏจักรหรือวงกลม และมีภาษาเยอรมัน ซึ่งมีความหมายว่า จุดเขียว
ซึ่งเครื่องหมายนี้จ ะต ิดห รือพ ิมพ์บ นบ รรจุภ ัณฑ์ได้ก ็ต ่อเมื่อผ ู้ผ ลิตบ รรจุภัณฑ์แ ละผ ู้ก ระจายสินค้าห รือผ ู้ผ ลิตส ินค้าได้
จ่ายค ่าธ รรมเนียมส ำหรับก ารอ นุญาตใหใ้ชเ้ครื่องหมายจ ุดเขียวบ นบ รรจภุ ัณฑ์ ตามป ริมาณ น้ำห นัก และช นิดข องว ัสดุ
บรรจภุ ณั ฑท์ ผี่ ลติ ไดต้ อ่ ป ี คา่ ธ รรมเนยี มส ำหรบั เครือ่ งหมายจ ดุ เขยี ว ดงั ก ลา่ วใชเ้ ปน็ ค า่ ใชจ้ า่ ยในก ารจ ดั เกบ็ แ ละค ดั แ ยก
บรรจุภัณฑ์ที่มีจ ุดเขียวเท่านั้น สำหรับประเทศอื่นในก ลุ่มสหภาพยุโรปมีหน่วยงานท ี่รับผ ิดชอบต่าง ๆ กันไป อาทิ
- ฟอสต์พลัส (FOST Plus) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดการซากบรรจุภัณฑ์จากแหล่ง
กำเนิดท ีเ่ป็นบ ้านพ ักอ าศัยในป ระเทศเบลเยียม รวมถ ึงเป็นห น่วยง านท ีจ่ ัดเก็บค ่าธ รรมเนียมก ารจ ัดเก็บซ ากบ รรจภุ ัณฑ์
จากผู้ประกอบการ ส่วนการจัดการซ ากบ รรจุภ ัณฑ์จากอ ุตสาหกรรมมีห น่วยงานท ี่รับผิดชอบ คือ วอลล ิแพค (VAL-
I-PAC) ดำเนินก ารรีไซเคิลซ ากบรรจุภัณฑ์
- อีโค-แอมบอลเลจช์เอสเอ (Eco-Emballages SA) เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบการดำเนินการ
จัดการซ ากบ รรจภุ ัณฑแ์ ละว ัสดเุหลือใชใ้นป ระเทศฝ รั่งเศส รวมท ั้งก ารจ ัดเก็บค ่าธ รรมเนียมก ารจ ัดการซ ากบ รรจภุ ัณฑ์
จากบ ริษัทผ ู้ผลิตและผู้นำเข้าบรรจุภ ัณฑ์ด ้วย เป็นต้น
ลิขสิทธิข์ องมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช