Page 365 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 365
บรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน 15-43
ข. The Department of Natural Resource and Environment และ The Environment
Protection Authority (EPA) เป็นห น่วยง านภ าคร ัฐข องร ัฐว กิ ตอเรีย ซึ่งท ำห น้าทีร่ ักษาม าตรฐานค ุณภาพส ิ่งแ วดล้อม
ออกใบอนุญาตโรงงาน ติดตามตรวจสอบสิ่งแวดล้อม ลดปัญหามลพิษ วางมาตรการจัดการสิ่งแวดล้อมระยะยาว
ลดของเสีย ป้องกันม ลพิษ และส ร้างจิตสำนึกช ุมชน
2) การคัดแ ยก รวบรวม และจ ัดเกบ็ มีวิธีการ ดังนี้
ก. การคัดแยก ทำโดยประชาชนค ัดแ ยกแ ล้วนำม าใส่ในถังข ยะที่เทศบาลจ ัดให้
ข. การรวบรวม เป็นระบบเก็บต ามข อบถนนโดยหน่วยงานท ี่เกี่ยวข้อง
ค. การจัดเก็บ โดยหน่วยงานท ี่เกี่ยวข้อง และส่งโรงงานเพื่อก ารนำกลับคืนหรือส่งศูนย์รีไซเคิล
2.4 ประเทศส หรฐั อเมรกิ า เปน็ ป ระเทศท มี่ ขี นาดใหญแ่ ละม หี ลายมลร ฐั ยงั ไมม่ หี นว่ ยง านท รี่ บั ผ ดิ ช อบโดยตรง
จากร ัฐบาลกลาง แต่มอบหมายให้แ ต่ละมลรัฐไปดำเนินการเป็นอ ิสระของตนเอง ซึ่งมีวิธีการด ำเนินง านบ ริหารจ ัดการ
ซากบ รรจภุ ัณฑข์ องแ ต่ละม ลรัฐแ ตกต ่างอ อกไป อาทิ ในม ลรัฐฟ ลอริดา มกี ารย กเว้นค ่าธ รรมเนียมใหก้ ับผ ูป้ ระกอบก าร
ที่รวบรวมซากบรรจุภัณฑ์กลับคืนได้ถึงร้อยละ 50 แต่ถ้าได้น้อยกว่านั้น ต้องเสียค่าธรรมเนียมในอัตราก้าวหน้า ใน
มลรัฐโรดไอส์แลนด์ มีการกำหนดค่าธรรมเนียมส นับสนุนก ารกำจัดขยะ แต่ไม่มีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมส ำหรับ
ขยะเทศบาลท ีส่ ามารถร ีไซเคิลได้ และม กี ารจ ัดต ั้งก องทุนเพื่อก ารร ีไซเคิลข ยะเทศบาลในช ่วงแ รก ในบ างมลร ัฐม กี ารใช้
ระบบม ัดจำส ำหรับเบียร์แ ละเครื่องด ื่มโดยเก็บจ ากผ ูจ้ ำหน่ายแ ละน ำไปเพิ่มในร าคาข ายส ินค้า เงินท ีไ่ด้น ำไปเข้าก องทุน
บริหารข องร ัฐ เพื่อใช้ในก ารเก็บร วบรวมซ ากบ รรจุภ ัณฑ์ต ่อไป สำหรับข ยะท ี่ไม่ได้แ ยก ม ีก ารเรียกเก็บค ่าธ รรมเนียมใน
ราคาที่สูงกว่าปกติโดยค่าเก็บขยะจะเรียกเก็บตามปริมาณโดยรวมค ่าขนส่งไปกำจัดด้วย หน่วยง านท ี่รับผิดชอบและ
วิธีการคัดแ ยก รวบรวมและจัดเก็บ มีดังนี้
1) หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ ซึ่งมีเพียงบางมลรัฐ อาทิ ISRI (The Institute of Scrap Recycling
Industries) เป็นการรวมก ลุ่มก นั เปน็ ส ถาบนั ข องก ลุม่ อ ตุ สาหกรรมร ไี ซเคิลที่ประกอบดว้ ยบริษัทหลายบ รษิ ัท นายห น้า
ซื้อขายและผู้บริโภคสินค้าจากอุตสาหกรรม เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่สนับสนุนเครื่องมือ และให้บริการกับบริษัทที่
เป็นสมาชิกของ ISRI โดยเน้นบทบาทของอุตสาหกรรมในการนำซากบรรจุภัณฑ์กลับมาใช้ใหม่ในอนาคต และเพิ่ม
การส นับสนุนก ารอ อกแบบท ี่ส ามารถร ีไซเคิลซ ากบ รรจุภ ัณฑไ์ด้ นอกจากน ีม้ คี ณะก รรมการทีป่ รึกษาด ้านข องเสีย (the
Solid Waste Advisory Committee: SWAC) ที่ตั้งขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2531 (ค.ศ. 1988) ที่เมืองออสติน มลรัฐเท็กซัส
เพื่อท ำห น้าที่ด้านการจัดการขยะ ให้ค ำแ นะนำในอนาคต จัดเก็บค ่าธรรมเนียม รวมท ั้งการปรับปรุงเส้นทางเก็บข ยะ
2) การคัดแยก รวบรวม และจัดเก็บ แต่ละมลรัฐมีระบบการคัดแยก รวบรวม และจัดเก็บซาก
บรรจุภัณฑ์แตกต่างกัน เช่น มลรัฐซีแอตเทิล มีการคัดแยกขยะด้วยระบบการจัดเก็บตามขอบถนนโดยใช้ถังขยะ
พลาสติกแยกสีตามประเภทของเสีย เพื่อนำซากบรรจุภัณฑ์ที่คัดแยกแล้วกลับมาใช้ใหม่ รวมทั้งมีความร่วมมือกับ
ภาคเอกชนในก ารจ ัดต ั้งศูนย์ร ับแยกข ยะร อบเมือง เพื่อให้ป ระชาชนส ามารถน ำซากบ รรจุภ ัณฑ์ม าท ิ้งที่ศูนย์ได้ ขณะท ี่
มลรัฐวอชิงตัน มีการลดก ารท ิ้งข องเสีย เพื่อน ำไปเป็นว ัตถุดิบในอุตสาหกรรมอ ื่น ส่วนม ลรัฐน ิวยอร์กและนิวเจอร์ซีย์
มีก ารแยกข ยะก ระดาษไว้ในถ ุงสีน้ำตาล รวมทั้งแ ยกข ยะไม้ และโลหะ เพื่อนำไปร ีไซเคิลต่อไป
2.5 ประเทศไทย มีหน่วยงานท ี่ร ับผิดช อบ และมีว ิธีก ารคัดแ ยก รวบรวม และจัดเก็บ ดังนี้
1) หน่วยงานที่รับผิดชอบ เช่น กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่
กำลังด ำเนินก ารเกี่ยวก ับน โยบาย และส นับสนุนก ิจกรรมเกี่ยวก ับก ารจ ัดการซ ากบ รรจภุ ัณฑ์ แตย่ ังไม่มกี ารด ำเนินก าร
จัดการซ ากบ รรจุภัณฑ์อ ย่างเป็นรูปธ รรม อาศัยก ารเก็บรวบรวมขยะจ ากช ุมชน รวมกันกับขยะจากแหล่งอ ื่น ๆ และมี
ผู้เก็บขยะคัดแยกบรรจุภัณฑ์ส่งไปยังโรงงานรีไซเคิลของศูนย์รับซื้อซากบรรจุภัณฑ์ของบริษัทเอกชนต่อไป ทั้งนี้ยัง
ไม่มีการจ ัดเก็บภาษี หรือค ่าธ รรมเนียมซากบ รรจุภัณฑ์อย่างช ัดเจนเหมือนในต่างประเทศ
ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช