Page 370 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 370
15-48 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
1.2.4 ออกแบบฝ าป ดิ ท ใี่ ชไ้มใ่หม้ กี ารท ำลายห รอื ท ำใหต้ วั บ รรจภุ ณั ฑเ์ สยี ห ายไดจ้ ากก ารเปดิ ใชง้ าน โดย
หลีกเลี่ยงการใช้ฝาป ิด เทปกาว กาวร้อน ลวดเย็บ เป็นต้น
1.2.5 ออกแบบใหไ้ มซ่ บั ซ อ้ น ใหค้ วามส ะดวกแ ละง า่ ยต อ่ ก ารห บี หอ่ (packing) การเปดิ ใช้ (unpacking)
และการบ รรจุซ ้ำ โดยให้ม ีความซ ับซ ้อนในด้านดังก ล่าวน้อยที่สุด เพื่อให้สามารถประกอบห รือใช้ซ้ำได้โดยไม่ยุ่งยาก
มีก ระบวนการในการห ีบห่อท ี่ไม่ม ากกว่า 3 ขั้นต อน ได้แก่ การเปิด การจัดวาง และการปิด บรรจุภัณฑ์ควรเปิดง่าย
บรรจุง่าย ใช้ง่าย
1.2.6 ออกแบบให้ประหยัดต้นทุนการผลิตและคุ้มค่าขนส่งในการนำกลับมาใช้ซ้ำ สามารถใช้ได้กับ
ผลิตภัณฑ์หลายชนิด เช่น ขวดซอสหลาย ๆ อย่างจากผู้ผลิตเดียวกัน การมีขนาดปากขวดที่ได้มาตรฐาน เพื่อให้
สามารถหาชิ้นส่วนฝาเปลี่ยนได้ง่าย เช่น ฝาลักสำหรับขวดแก้ว นอกจากนี้ต้องพิจารณาถึงการออกแบบที่ช่วยลด
ค ่าใช้จ ่ายในก ารข นส่งเพื่อน ำก ลับม าใช้ซ ้ำ ขนาดแ ละน ้ำห นักก ารขนส่ง ควรน ้อยท ี่สุดท ี่ย ังค งค วามแ ข็งแ รงในก ารใช้ซ ้ำ
และเหมาะสม เนื่องจากต้องมีการขนส่งกลับมาเพื่อบรรจุใหม่ ถ้ามีน้ำหนักที่มากเกินไป อาจไม่คุ้มค่าขนส่ง เพราะ
ไม่ส ามารถบรรทุกบ รรจุภัณฑ์ในปริมาณหรือจ ำนวนบรรจุภัณฑ์ที่ม ากได้ในแต่ละเที่ยว นวัตกรรมนี้จ ึงเน้นข นาดแ ละ
น ้ำห นักข องบรรจุภ ัณฑ์ใช้ซ ้ำท ี่เหมาะสมก ับการเก็บกลับ
2. บรรจภุ ณั ฑ์รีไซเคิล
บรรจุภ ัณฑ์ส ามารถผลิตได้จากวัสดุห ลากหลายช นิด อาทิ กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ บางช นิดร ีไซเคิล
ได้ บางชนิดรีไซเคิลไม่ได้ หรือมีปริมาณน้อยมากไม่คุ้มกับต้นทุนในการนำมารีไซเคิล จึงควรนำไปพิจารณาต่อว่า
สามารถน ำไปให้เป็นพ ลังงานก ลับค ืนม าได้ห รือไม่ สำหรับบ รรจุภ ัณฑ์ท ี่อ อกแบบให้เหมาะก ับก ารร ีไซเคิล มีก ารใช้ว ัสดุ
บรรจุภ ัณฑ์ที่นำม าร ีไซเคิลได้ใน 2 ลักษณะ คือ วัสดุท ี่เป็นข องเสียระหว่างก ระบวนการผ ลิตหรือแปรรูปบรรจุภ ัณฑ์
(waste in process) และซ ากบ รรจุภัณฑ์
2.1 วัสดุที่เป็นของเสียระหว่างกระบวนการผลิตหรือแปรรูปบรรจุภัณฑ์ ลักษณะของเสียแบบนี้ส่วนใหญ่
เป็นวัสดุที่เกิดภายในโรงงาน เพื่อช่วยลดปริมาณของเสียหรือซากบรรจุภัณฑ์ภายในโรงงานที่ผลิตวัตถุดิบสำหรับ
บรรจุภัณฑ์ หรือภ ายในโรงงานผลิตบรรจุภัณฑ์น ั้น ๆ โดยนำกลับไปแปรรูปเพื่อผลิตใหม่ ซึ่งภายในโรงงานค วรม ีก าร
จัดร ะบบการจ ัดเก็บ รวบรวมวัสดุและบรรจุภัณฑ์ที่ส ูญเสียในร ะหว่างการผ ลิต เช่น ถาดพ ลาสติก PP ที่เสียในร ะหว่าง
การข ึ้นรูป เศษตัดแผ่นอะลูมิเนียม เป็นต้น เพื่อนำกลับมาแ ปรรูปผ ลิตใหม่ โดยประสานก ับผ ู้ผลิตวัตถุดิบในวัฏจักร
ชีวิตบ รรจุภัณฑ์ที่เหมาะสม
2.2 ซากบรรจุภัณฑ์ เป็นบรรจุภัณฑ์หลังลูกค้าใช้งาน (post-consumer packages: PCP) บรรจุภัณฑ์ที่
ออกแบบเพื่อให้ส ามารถร ีไซเคิลได้ มีข้อค วรค ำนึงส ำคัญท ี่ช ่วยเพิ่มค วามส ามารถในก ารร ีไซเคิล ช่วยล ดพ ลังงาน และ
ขั้นตอนในก ารรีไซเคิลได้ ดังนี้
2.2.1 ควรห ลกี เลยี่ งก ารประสมวสั ดหุ ลายช นดิ เช่น แผ่นก ระดาษล ูกฟูกย ึดต ิดก ับโฟมพ อล สิ ไตร ีนด ้วย
สารย ึดต ิด ถ้าเป็นสารยึดติดถาวรจะท ำให้ว ัสดุสองช นิดที่ยึดติดก ันแ ล้ว แยกออกจ ากก ันได้ยาก ซึ่งทำให้ก ารร ีไซเคิล
ยากไปด ้วย จึงค วรเลือกว ัสดุให้เหมาะส มเพื่อให้ง ่ายต ่อก ารร ีไซเคิล ถ้าจ ะย ึดต ิดก ันค วรเป็นว ัสดุช นิดเดียวกัน ถ้าเป็น
วัสดุประสม ควรเลือกให้ง ่ายต่อการแ ยกอ อกจากกัน
2.2.2 ตระหนักถึงโครงสร้างการรีไซเคิลในภาพกว้าง ในด้านสถานที่ที่ขนส่ง ถ้าวัสดุที่ใช้ไม่สามารถ
รีไซเคิลได้ในสถานที่ใกล้แหล่งที่ใช้วัสดุนั้น ควรมองหาวัสดุอื่นที่นำมาใช้ทดแทน โดยเลือกวัสดุที่สามารถมีแหล่ง
รีไซเคิลในท้องถิ่นนั้น ๆ รวมทั้งผู้จัดจำหน่ายที่ใช้วัสดุที่สามารถรีไซเคิลได้ ซึ่งอาจมีระบบรีไซเคิลที่มีประสิทธิภาพ
ของต นเอง เพื่อช ่วยในการรีไซเคิลท ำได้ง ่ายแ ละรวดเร็วขึ้น
ลขิ สิทธิ์ของมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช