Page 373 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 373
บรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน 15-51
3. บรรจุภัณฑ์ท่ใี ห้พลังงานก ลับคืนมา
ตามท ี่ไดก้ ล่าวไว้แ ล้วในต อนท ี่ 15.2 เกี่ยวก ับบ รรจภุ ัณฑท์ ีใ่หพ้ ลังงานก ลับค ืนม า จาก ISO 14021 ว่า ลักษณะ
การอ อกแบบบ รรจุภ ัณฑ์ท ีใ่หพ้ ลังงานก ลับค ืน ต ้องอ อกแบบแ ละเลือกใชว้ ัสดบุ รรจุภ ัณฑท์ ีส่ ามารถใหพ้ ลังงานก ลับค ืน
มาจ ากซ ากบ รรจุภ ัณฑ์ได้ ของเสียส ่วนใหญ่ท ี่ร วบรวมได้จ ากก ระบวนการจ ัดการข องเสีย เป็นบ รรจุภ ัณฑ์ท ี่ไม่ส ามารถ
นำไปใชซ้ ้ำห รือร ีไซเคิลไดแ้ ล้ว การท ำใหไ้ดพ้ ลังงานก ลับค ืนม าใชป้ ระโยชน์ มักม าจ ากก ารเผาซ ากบ รรจภุ ัณฑใ์นส ภาพท ี่
ให้ค วามป ลอดภัยพ ร้อมให้พ ลังงานก ลับค ืนม าจากก ารเผา นั่นค ือ การช ่วยเปลี่ยนข องเสียไปเป็นพ ลังงาน ซึ่งส ่วนใหญ่
ใช้ซากบรรจุภัณฑ์พลาสติกแ ละก ระดาษเป็นเชื้อเพลิงทางเลือก รูปแบบบรรจุภัณฑ์ฐ านชีวภาพบ างป ระเภท อาทิ วัสดุ
ประสมจากการลาม ิเนตกระดาษกับพลาสติก และร ูปแ บบบ รรจุภัณฑ์ที่ทำจ ากว ัสดุประสมป ระกบติดกันหรือลาม ิเนต
หลายชั้น แต่ละช ั้นมีค วามบางมาก ล้วนป ็น รูปแบบบรรจุภัณฑ์ที่ย ากต ่อก ารร ีไซเคิล
แนวความคิดในการจัดการซากบรรจุภัณฑ์อ่อนตัวที่มีความบางและประกอบด้วยวัสดุหลายชนิด ยากต่อ
ก ารร ีไซเคิล สามารถเปลี่ยนไปเป็นพ ลังงานก ลับค ืนม าใช้ป ระโยชน์ด ้วยว ิธีก ารไพโรไลซ ิส (pyrolysis) และก ารเกิดก ๊าซ
(gasification) ทั้งส องว ธิ นี ีน้ ำม าใชใ้ นก ารก ำจดั ซ ากบ รรจภุ ณั ฑอ์ อ่ นต วั เพือ่ ล ดม ลพษิ ต อ่ ส ิ่งแ วดลอ้ ม โดยเฉพาะว ธิ กี าร
ไพโรไลซิส ซึ่งเป็นการแ ยกส ลายด ้วยความร ้อนโดยใช้ค วามร ้อนส ูงกว่า 700 องศาเซลเซียส ในสภาพที่ไม่มีออกซิเจน
ผลผลิตท ี่ได้ป ระกอบด้วยข องแข็ง ของเหลว และก๊าซ ของแข็งท ี่ได้ คือ คาร์บอน ของเหลว คือ ไฮโดรคาร์บอนเหลว
เช่น เบนซิน โทลูอีน ส่วนก ๊าซ คือ ก๊าซไฮโดรคาร์บอน เช่น มีเทน เอทิลีน ผลผลิตที่ได้ส ามารถนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิง
ในขณะที่วิธีการเกิดก๊าซ เป็นสภาพที่มีการใช้ออกซิเจนบางส่วนและอุณหภูมิที่ใช้สูงมากกว่า 1,000 องศาเซลเซียส
ผลผลิตที่ได้ คือ ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ และก๊าซไฮโดรเจน เชื้อเพลิงที่ได้จากวิธีการดังกล่าว มี 2 ลักษณะ คือ
เชื้อเพลิงจากขยะ (refuse derived fuel: RDF หรือ solid recovered fuel: SRF) และ เชื้อเพลิงจ ากกระดาษและ
พลาสติก (refuse-derived paper and plastic derived fuel: RPF) ความร้อนที่ได้จาก RPF ให้ค่าความร้อน
ที่สูงเทียบได้กับค่าความร้อนที่ได้จากถ่านหิน ขณะที่ค่าความร้อนจากพลาสติกจำพวกพอลิเอทิลีนให้ค่าสูงเช่นกัน
ดังต ารางที่ 15.3
ตารางท ่ี 15.3 ตวั อยา่ งคา่ ค วามร้อนทีไ่ ด้รบั จ ากก ารเผาซ ากบรรจภุ ัณฑเ์ มือ่ เทียบก ับค ่าค วามร้อนจ ากแหลง่ พ ลังงานท ัว่ ไป
รายการ คา่ ความรอ้ น (kcal/kg)
เชื้อเพลิงจากขยะ (RDF) 4,000-5,000*1
เชื้อเพลิงจากกระดาษและพลาสติก (RPF) 6,000-8,000*2
ถ่านหิน (coal) 6,000-8,000*3
น้ำมันหนัก (heavy oil)
ไม้ กระดาษ 9,500
พลาสติกชนิดพอลิเอทิลีน ( PE)
ของเสียจากขยะมูลฝอย 4,300
11,000
1,000-5,000*1
ทีม่ า: UNEP, 2009. *1 ขึ้นกับองค์ป ระกอบข องข องเสีย
*2 ถูกควบคุมด้วยองค์ป ระกอบของพ ลาสติกในก ระบวนการผ ลิตเชื้อเพลิง
*3 ขึ้นอยู่ก ับช นิดของถ ่าน
ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช