Page 376 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 376
15-54 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบรรจุภัณฑ์
การแ ตกสลายไ ด้ด้วยจลุ ินทรยี ช์ นิดท่ีไม่ใชอ้ อกซิเจน
พอล ิเมอร์ชีวภาพ CO2 + H2O + CH4 + ชีวม วล ..........(2)
2. ประเภทบ รรจุภ ัณฑแ์ ตกส ลายทางช วี ภาพได้
บรรจุภ ัณฑ์แ ตกส ลายท างช ีวภาพได้ สามารถแ บ่งได้เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ บรรจุภัณฑ์แตกส ลายทางชีวภาพได้
ที่ได้จ ากพอล ิเมอร์ชีวภาพฐ านว ัตถุดิบธ รรมชาติ และจากพ อลิเมอ ร์ชีวภาพฐานวัตถุดิบสังเคราะห์
2.1 บรรจภุ ัณฑแ์ ตกสลายท างชีวภาพไดท้ ่ีไดจ้ ากพ อลเิ มอรช์ ีวภาพฐ านว ตั ถดุ บิ ธ รรมชาติ จำแนกแบ่งได้เป็น
6 กลุ่มย ่อยตามช นิดพอลิเมอ ร์ที่ใช้ ได้แก่
2.1.1 พอลิแซ็กคาไรด์ พอลิเมอร์กลุ่มนี้พัฒนาจากวัตถุดิบธรรมชาติพวกพอลิแซ็กคาไรด์ เช่น แป้ง
เซลลูโลส ไคต ิน เป็นต้น แป้งจ ัดเป็นว ัตถุดิบท ี่นิยมนำม าใช้ผลิตเป็นบ รรจุภ ัณฑ์แ ตกสลายทางชีวภาพได้ เพราะร าคา
ถูกและห าได้ง ่าย แป้งท ี่ใช้มีท ั้งแป้งข ้าวโพด แป้งม ันสำปะหลัง แป้งจ ากข้าวเจ้า เป็นต้น
2.1.2 โปรตนี พอล เิ มอ รก์ ลมุ่ น พี้ ฒั นาจ ากว ตั ถดุ บิ ธ รรมชาตพิ วกโปรตนี เชน่ เจล ะตนิ เคซ นี และเคอราตนิ
จากข นส ัตว์ กลุ่มน ี้ไม่ค่อยพบมากในการนำมาใช้ผลิตเป็นว ัสดุบรรจุภัณฑ์
2.1.3 ไขมนั ผลิตจากไขมันจากพืช รวมทั้งน้ำมันล ะหุ่ง (castor oil) และไขมันจากส ัตว์
2.1.4 พอลิเอสเทอร์ท่ีเกิดจากจุลินทรีย์ เช่น พอลิไฮดรอกซีแอลคาโนต (polyhydroxy alkanoate)
พอลิไฮด รอกซ ีบิวทิเรต (polyhydroxy butyrate)
2.1.5 พอลิเอสเทอร์สังเคราะห์จากมอนอเมอร์ที่ได้ทางชีวภาพ เช่น พีแอลเอ (polylactic acid:
PLA)
2.1.6 พอลเิมอ ร์ช วี ภาพฐ านวัตถดุ ิบธรรมชาติอน่ื ๆ เช่น ยางธ รรมชาติ วัสดุประสม เป็นต้น
2.2 บรรจุภัณฑ์แตกสลายทางชีวภาพได้ท่ีได้จากพอลิเมอร์ชีวภาพฐานวัตถุดิบสังเคราะห์ สามารถแบ่งได้
เป็น 4 กลุ่มย ่อย ดังนี้
2.2.1 พอล เิ อสเทอ รช์ นดิ แ อล แิ ฟตกิ เชน่ พอล ไิ กลโคล กิ เอซ ดิ (polyglycolic acid) พอล บิ วิ ทลิ นี ซ กั ซ เิ นต
(polybutylene succinate) พอลิแ คโพรแลกโทน (polycaprolactone)
2.2.2 พอลิเอสเทอร์ชนิดแอโรแมติก หรือแบบผสม 2 ชนิด เช่น พอลิบิวทิลีนซักซิเนตเทเรฟทาเลต
(polybutylene succinate terephathalate)
2.2.3 พอลไิวนิลแ อลกอฮอล์ (polyvinyl alcohol) มีลักษณะเป็นพ อลิเมอ ร์ที่มีขั้ว สามารถล ะลายน ้ำได้
จึงท ำให้แ ตกส ลายได้ง ่าย
2.2.4 พอล โิ อล ฟี นิ ช นดิ ด ดั แ ปร (modified polyolefins) เชน่ พอล เิ อทลิ นี หรอื พ อล พิ รอพลิ นี รวม ผสมก บั
สารท ี่ช ่วยให้ไวต ่อแ สงห รือค วามร ้อน เพื่อให้เกิดก ารแ ตกส ลายไดเ้ร็วข ึ้น รวมท ั้งก ารด ัดแ ปรด้วยแ ป้งเพื่อใหพ้ อล ิเมอ ร์
มีความเป็นข ั้วมากขึ้น เป็นต้น
อยา่ งไรก ต็ ามก ารแ ตกส ลายได้ เปน็ การท ำใหพ้ อล เิ มอ รท์ มี่ โี มเลกลุ ข นาดใหญ่ เกดิ ก ารแ ตกต วั ในร ะดบั โมเลกลุ
แต่ยังไม่เล็กพอที่จุลินทรีย์สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ดังนั้นจึงมีการพัฒนาบรรจุภัณฑ์สลายตัวได้ (composible
packaging) ซงึ่ เปน็ บ รรจภุ ณั ฑท์ สี่ ลายต วั ไดภ้ ายใตส้ ภาวะก ารห มกั โดยใชจ้ ลุ นิ ทรยี ์ ทำใหซ้ ากบ รรจภุ ณั ฑเ์ กดิ ก ารแ ตกต วั
เป็นชิ้นเล็ก ๆ จนถึงข นาดเล็กพอที่จ ุลินทรีย์สามารถน ำไปใช้ประโยชน์ได้ นั่นหมายถ ึงได้เป็นธ าตุอาหารออกมา ดังนั้น
สารเคมีที่ใช้กับบรรจุภัณฑ์สลายตัวได้ อาทิ หมึกพิมพ์ สารเคลือบ ต้องสามารถแตกสลายได้ง่ายด้วย จึงจัดเป็น
บรรจุภ ัณฑ์สลายต ัวได้อ ย่างแท้จริง ทั้งนี้เพื่อล ดส ารต กค้างจ ากส ารเคมีท ี่ไม่สามารถสลายต ัวได้
ลขิ สทิ ธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช