Page 371 - ความรู้ทั่วไปเกี่ียวกับบรรจุภัณฑ์
P. 371
บรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน 15-49
2.2.3 ควรมีการระบุเคร่ืองหมายรีไซเคิลบนบรรจุภัณฑ์ที่สามารถรีไซเคิลได้ เพื่อให้ทราบว่า เป็นวัสดุ
อะไร ซึ่งจ ะช่วยในการร ีไซเคิล และ/หรือการคัดแยกได้อย่างเหมาะส ม
ตัวอย่างเช่น
- ขวดพ ลาสติกท ีม่ กี ารเคลือบส ารพ ิเศษภ ายในเพื่อใหผ้ ลิตภัณฑท์ ีบ่ รรจไุ มต่ ิดเป็นค ราบก ับข วด
ช่วยให้ง่ายต่อการท ำความสะอาดเพื่อน ำบรรจุภ ัณฑ์มารีไซเคิล (ภาพที่ 15.22)
- ขวดใชว้ ัสดชุ นิดเดียวกัน โดยไมต่ ้องแ ยกข ยะ การล ดป ริมาณว ัสดทุ ีใ่ชท้ ำข วดด ้วยก ารใชว้ ัสดุ
รีไซเคิลชนิด PET เพื่อให้สามารถบีบแบนเป็นข นาดเล็กล ง ช่วยลดพื้นที่ที่เก็บข ยะเพื่อการร ีไซเคิล เช่น ขวด evian
(ภาพท ี่ 15.23 ก.)
- การใช้หมึกพิมพ์อ ินทรีย์ (organic ink) พิมพ์บนฝ าข วด (ภาพที่ 15.23 ข.) เวลาเข้าเตาเผา
หมึกพ ิมพ์จะร ะเหยออกไปหมด
- การระบุชนิดของวัสดุท ี่ใช้เพื่อให้สามารถท ราบวัสดุท ี่รีไซเคิลได้ (ภาพที่ 15.24)
ก. ขวดท ี่ไม่มีการเคลือบส าร ข. ขวดท ี่ม ีการเคลือบสารพิเศษ
พิเศษภ ายในจึงเกิดการต ิด ภายในเพื่อล ดการต ิดเป็นค ราบ
เป็นคราบของผลิตภัณฑ์ ของผลิตภัณฑ์ท ี่บรรจุ ช่วยให้
ที่บรรจุ ง่ายต่อการนำข วดม าร ีไซเคิล
ภาพท ี่ 15.22 เปรียบเทยี บขวดที่ไมม่ แี ละมีการเคลอื บสารพิเศษภายในขวด
ที่มา: http://athousandgreatideas.wordpress.com/category/packaging/ ค้นคืน 19 มีนาคม 2555
ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช