Page 14 - ๘๔ พรรษา ในหลวงของปวงชน
P. 14
รวมผลงานวรรณกรรมร้อยกรองประเภทลลิ ติ 2
“ดวงใจกับความรัก” สมัครสมานฉันท์ จรรโลงสุขสยาม “ย้ิมสู้”
นามไพเราะ “สายลม” เสนาะ “ยามค่าํ ” รินรา่ํ ด้วย “แสงเทียน” “คําหวาน”
เวียนเว้าวอน ไพเราะ “พรปีใหม”่ เพลงใสส่ ู่วญิ ญาณ.์ ... (ปริยาภทั ร มาเจริญ)
ส่วนเร่ืองความคิด หรือจะให้มีน้ำาหนักข้ึน ก็คือความคิดสร้างสรรค์น้ัน จะ
สอดผสมอยู่ในเนอ้ื หา เชน่ กลา่ วถงึ พระเจา้ อยู่หัวทที่ รงงานทา่ มกลางแสงแดด เสโท
ท่วมพระพักตร์ อาจจะเปรียบกับน้ำาอาบ และนำ้าในมหาสมุทร เป็นต้น ส่วนนี้คือ
ความคดิ หรอื กลา่ วถงึ วชิ าการทง้ั ในระบบนอกระบบ เหมอื นยอ่ โลกมาไว้ ดงั ตวั อยา่ ง
ตอ่ ไปนี้
ตรภี พตา่ งแซ่ซอ้ ง ผลประจกั ษ์
พระป่ินสยามรักษ์ เกร่นิ อา้ ง
เสโทอาบพระพกั ตร์ นา้ํ ตา่ ง อาบเฮย
โดยพระเมตตากว้าง ดุจหว้ งมหานที
(สายนรนิ ทร์ กระสา)
วชิ าการศาสตรล์ ้ํา เลอสมยั
เรยี นนอกระบบใน- ระบบพร้อม
เสริมหลักสูตรทางไกล ครบสูตร
ยอ่ โลกมารายลอ้ ม หลากล้นผลอนนั ต์
(แมน คล้ายสบุ รรณ)
๓. มคี วามไพเราะ ความไพเราะหรือวรรณศลิ ปเ์ กิดจากปัจจยั หลายอย่าง
เชน่ การเล่นคาำ การใชภ้ าพพจน์ การใช้คาำ ทล่ี ะเอยี ดออ่ น สะเทือนอารมณ์ การข้นึ ต้น
และการลงท้าย เป็นต้น คนอ่านอาจจะแยกไม่ออกว่าไพเราะตรงไหน เพราะอะไร
แต่อา่ นแล้ว “ซ้ึง” และ “จาำ ได”้ ก็ถอื วา่ ถกู ใจคนอา่ น คนจะเขียนบทกวไี พเราะได้
มใิ ชเ่ รอื่ งบงั เอญิ แตต่ อ้ งอา่ นมากเขยี นมาก และม ี “ความเปน็ ตวั ตน” ของตวั เอง เปน็
จุดเด่น เหมือนนักร้องท่ีมีเสียงเป็นเอกลักษณ์ ไม่เหมือนใคร หากรูปแบบ เน้ือหา
และความคดิ ใชไ้ ด้ ความไพเราะนี้จะเปน็ ส่วนทผี่ อู้ ่านจะตดั สนิ ใจ “เลอื ก” มากที่สดุ