Page 16 - ๘๔ พรรษา ในหลวงของปวงชน
P. 16
รวมผลงานวรรณกรรมรอ้ ยกรองประเภทลิลิต 4
วพิ ากษล์ ิลติ
ชมพร เพชรอนนั ตก์ ลุ
ผมทราบว่า ก่อนจะมีการประกวดบทร้อยกรองประเภทลิลิต ได้มีการจัด
อบรมนักเรียนมาก่อน แล้วจึงให้กลับไปเขียนผลงานส่งเข้าประกวด จากการตรวจ
ผลงานลิลิตท่ีส่งเข้าประกวดของนักเรียนอายุไม่เกินยี่สิบปี จำาแนกผู้เข้าประกวดได้
๓ ระดับ คอื เขยี นด ี เขยี นได้ และเขียนพอใช้ได ้
๑. เขยี นด ี หมายถึง ผูไ้ ด้คะแนนสงู โดยไดร้ ับรางวัลชนะเลศิ และรองชนะเลิศ
ตามลำาดับ สามารถเขียนลิลิตได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์บังคับ ใช้คำาได้เหมาะสม
ต่อสถานะและโอกาส แต่จะมีข้อพลาดบ้างก็คือ บางคนเขียนคำาผิด เช่น ตะการ
ทถี่ กู คอื ตระการ, การใชค้ าำ สมั ผสั ซา้ำ เชน่ เพลนิ ชมเมอ่ื โสมสอ่ ง สาดแสงสอ่ งสายสวรรค์
(สอ่ ง กับ ส่อง) ซ่ึงเม่ือแกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ งแล้ว ผลงานถอื ว่า “เขยี นด”ี
๒. เขียนได้ หมายถึง ผู้ได้คะแนนค่อนข้างสูง โดยได้รับรางวัลชมเชยใน
ลำาดับต้นๆ ส่วนใหญ่สามารถเขยี นลิลิตไดถ้ ูกต้องตามฉนั ทลักษณบ์ ังคบั ใชค้ ำาท่วั ไป
เป็นพ้ืน ไม่มีศัพท์แสงมากนัก แต่จะมีข้อพลาดบ้างก็คือ ในโคลงสี่สุภาพ มีการ
ใช้คำาเอกท้ายบาท เช่น “เขตคามจึงสุขล้น ทุกย่าน” หรือใช้คำาโทในวรรคต้นของ
บาทท่สี อง เช่น “ทฤษฎีใหม่ใชเ้ ลีย้ ง ทวั่ ดา้ ว” มีบางสาำ นวนก็ใชค้ ำาผิดหลายแหง่ เชน่
วงจกั ร ี ทีถ่ ูกคือ วงศจ์ กั รี, ธ. ที่ถกู คือ ธ, ศิร ิ ทถี่ ูกคือ สริ ิ ฯลฯ เมื่อไดป้ รบั ปรุงแก้ไข
แลว้ ผลงานถอื ว่า “เขียนได”้
๓. เขียนพอใช้ได้ หมายถึง ผู้ได้คะแนนรองจาก “เขียนได้” โดยได้รับ
รางวัลชมเชยลำาดับท้าย ๆ หลายสำานวนเขียนลิลิตไม่ถูกต้องตามฉันทลักษณ์บังคับ
ใช้คำาทั่วไปเป็นพื้นไม่มีศัพท์แสงมากนัก ข้อผิดพลาดเรื่องฉันทลักษณ์ที่พบ จะ
มีแตกต่างหลากหลายกันไป เช่น ในร่ายสุภาพ ท้ายวรรคต้นใช้เสียงสามัญ
แลว้ กลับมารับดว้ ยคาำ เอกในวรรคถดั ไป (พระผคู้ รองแผน่ ดนิ ปอ้ งถิ่นฐานบ้านเมือง)
หรือ ท้ายวรรคต้นใช้คำาเอก แล้วกลับมารับด้วยคำาโทในวรรคถัดไป