Page 32 - ชีววิทยาและเคมีสำหรับครู
P. 32
9-22
เรอ่ื ง 9.3.1 สมบัติของข องแข็ง
สาระส ังเขป
ของแข็งม ีสมบัติเฉพาะต ัวแ ตกต ่างไปจากแ ก๊สและของเหลวอ ย่างชัดเจน คือ มีรูปทรงที่แ น่นอน มี
ปริมาตรเฉพาะไม่เปลี่ยนแปลงไปตามภ าชนะที่บรรจุเหมือนข องเหลวห รือแ ก๊ส มีความแ ข็ง เมื่อถูกบ ีบอัดจะ
มีปริมาตรเปลี่ยนไปน้อยมาก สำ�หรับการแ พร่ในสถานะข องแข็งนั้น เกิดขึ้นได้ช้ามากเมื่อเทียบกับของเหลว
หรือแก๊ส ซึ่งอนุภาคสามารถเคลื่อนที่ได้ท ั้ง 3 แบบ คือ การย า้ ยที่ (translation) การห มนุ (rotation) และ
ก ารส นั่ (vibration) ในข ณะท ี่อ นุภาคข องข องแข็งน ั้นอ ยู่ใกล้ก ันม าก มีแ รงย ึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคสูง ทำ�ให้
การเคลื่อนที่ของอ นุภาคข องแข็งถูกจ ำ�กัดเพียงแบบเดียว คือ การสั่น เท่านั้น
โดยท ั่วไปแ ล้ว ของแข็งส ามารถแ บ่งอ อกเป็น 2 ประเภทต ามก ารจ ัดเรียงต ัวข องอ นุภาค คือ ของแขง็
ท่เี ปน็ ผลกึ (crystal หรือ crystalline solid) และ ของแขง็ อสณั ฐ าน (amorphous solid) สำ�หรับข องแข็งท ี่เป็น
ผลึกนั้นมักจะเป็นสารบริสุทธิ์ อนุภาคจะจัดเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบใน 3 มิติ ทำ�ให้มีรูปผลึกเป็นรูปทรง
เรขาคณิตที่แ น่นอน และม ีล ักษณะเฉพาะตัวของแ ต่ละส าร
(โปรดอ า่ นเน้อื หาส าระโดยละเอียดในป ระมวลส าระช ุดวิชาหนว่ ยที่ 9 ตอนท่ี 9.3 เรือ่ งที่ 9.3.1)
กจิ กรรม 9.3.1
จงอ ธิบายความห มายของค ำ�ว ่าผลึก “อัญรูป (allotrope)” พร้อมท ั้งย กตัวอย่างป ระกอบ
บนั ทึกคำ�ต อบก จิ กรรม 9.3.1
(โปรดตรวจค�ำ ต อบจากแ นวตอบในแนวการศึกษาหนว่ ยท ่ี 9 ตอนท ่ี 9.3 กจิ กรรม 9.3.1)