Page 27 - ชีววิทยาและเคมีสำหรับครู
P. 27

9-17

เร่อื ง 9.2.1 หนว่ ย​ของ​ความ​เขม้ ข​ ้น

สาระส​ ังเขป

       สารละลาย (solution) หมาย​ถึง สาร​เนื้อ​เดียว​ซึ่งเ​กิด​จากก​ าร​ผสมอ​ ย่างก​ ลมกลืน​ของ​สาร​อย่างน​ ้อย
2 ชนิด​ขึ้น​ไป โดย​ทั่วไป​องค์ป​ ระกอบ​ที่ม​ ี​ปริมาณ​มากกว่าเ​รียกว​ ่า ตัว​ทำ�ล​ ะลาย (solvent) ส่วน​องค์​ประ​กอบ​
อื่นๆ ที่​มี​ปริมาณน​ ้อย​กว่าเ​รียก​ว่า ตัว​ละลาย (solute)

       ความ​เข้ม​ข้น (concentration) ของ​สารละลาย หมายถ​ ึง ปริมาณ​ของ​ตัวล​ ะลาย​ต่อห​ น่วยป​ ริมาตร
(หรือ​ต่อ​หน่วยม​ วล) ของต​ ัวท​ ำ�ล​ ะลาย​หรือข​ อง​สารละลาย หน่วยค​ วาม​เข้ม​ข้นท​ ี่น​ ิยม​ใช้ก​ ัน​ทั่วไปใ​นง​ าน​ต่างๆ
ที่เ​กี่ยวข้อง​กับส​ ารละลาย ได้แก่ เปอร์เซ็นต์ โม​ลา​ริต​ ี โม​แลล​ ิ​ตี และน​ อร์ม​า​ลิต​ ี เป็นต้น

     (โปรดอ​ า่ น​เนือ้ หาส​ าระโ​ดยล​ ะเอยี ดใ​นป​ ระมวลส​ าระ​ชุด​วิชาห​ น่วยท​ ี่ 9 ตอนท​ ี่ 9.2 เร่ืองท​ ี่ 9.2.1)

  กิจกรรม 9.2.1
         จงค​ ำ�นวณค​ วามเ​ข้มข​ ้นโ​มล​ าร์​ของก​ รดไ​น​ติก (HNO3 63.0 g/mol) ใน​สารละลายก​ รด​ไนต​ ริก​

  เข้มข​ ้น 70% w/w และ​มี​ความถ่วงจำ�เพาะ 1.42

บันทกึ ค​ ำ�ต​ อบ​กิจกรรม 9.2.1

(โปรดต​ รวจ​ค�ำ ต​ อบ​จาก​แนวต​ อบ​ใน​แนวก​ าร​ศกึ ษา​หนว่ ย​ที่ 9 ตอน​ที่ 9.2 กจิ กรรม 9.2.1)
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32