Page 51 - ชีววิทยาและเคมีสำหรับครู
P. 51
9-41
เฉลยแ บบประเมินผลตนเองหน่วยท่ี 9
กอ่ นเรียน
1. สสารสามารถแ บ่งอ อกต ามส ถานะอย่างง ่ายๆ ได้เป็น 3 สถานะ ได้แก่ ของแข็ง ของเหลว และ
แก๊ส โดยที่แต่ละสถานะจะมีสมบัติท างก ายภาพแ ตกต ่างก ันอ อกไป
ของเหลว เป็นสถานะข องส สารท ีม่ อี นุภาคอ ยูห่ ่างก ันม ากกว่าข องแข็ง จึงอ ยูก่ ันอ ย่างห ลวมๆ อนุภาค
ของสสารจึงเคลื่อนไหวได้ง่ายขึ้น ดังนั้นสสารจึงมีรูปร่างไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ
ของเหลวบ ริสุทธิ์ป ระกอบด ้วยองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว ในขณะที่ส ารละลายจ ะต้องมีอ งค์ประกอบอย่าง
น้อยส องชนิดข ึ้นไปท ี่กลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน
2. แกส๊ ม คี วามส ามารถในก ารล ะลายในข องเหลวไดเ้กอื บท ุกช นดิ การล ะลายจ ะม ากห รอื น ้อยข ึน้ อ ยู่
กับส มบัติข องแ ก๊สเอง และส มบัติข องต ัวท ำ�ล ะลาย เช่น แก๊สใดท ี่ส ามารถท ำ�ป ฏิกิริยาทางเคมีก ับต ัวท ำ�ล ะลาย
ไดก้ จ็ ะม กี ารล ะลายส ูง ได้แก่ แก๊สอ อกซิเจน แอมโมเนีย และไฮโดรเจนค ลอไรด์ เป็นแ ก๊สท ีม่ คี วามส ามารถใน
การล ะลายน ํา้ ไดม้ าก แตถ่ า้ ด ถู งึ ค วามส ามารถในก ารล ะลายท างก ายภ าพจ รงิ ๆ โดยไมเ่ กีย่ วขอ้ งก บั ป ฏกิ ริ ยิ าท าง
เคมีเลย จะพบว ่าการล ะลายข องแ ก๊สพวกน ี้ต ํ่าม าก นอกจากน ี้การล ะลายข องแ ก๊สย ังข ึ้นอยู่กับองค์ประก อบ
อื่นๆ อีกห ลายอ ย่าง เช่น ความด ัน อุณหภูมิ และพื้นผ ิวท ี่ส ัมผัสก ันร ะหว่างโมเลกุลข องข องเหลว และโมเลกุล
ของแ ก๊สนั้นๆ
3. ของแข็งส ามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทต ามการจ ัดเรียงต ัวของอนุภาค คือ ของแข็งที่เป็นผ ลึก
(crystal หรือ crystalline solid) และข องแข็งอสัณฐ าน (amorphous solid) สำ�หรับข องแข็งท ี่เป็นผ ลึกน ั้น
มักจ ะเป็นส ารบ ริสุทธิ์ อนุภาคจ ะจ ัดเรียงต ัวอย่างเป็นร ะเบียบใน 3 มิติ ทำ�ให้ม ีร ูปผ ลึกเป็นร ูปท รงเรขาคณิตท ี่
แน่นอน และมีล ักษณะเฉพาะต ัวข องแต่ละสาร เช่น ผลึกของโซเดียมคลอไรด์เป็นร ูปลูกบาศก์ ส่วนของแข็ง
อสัณฐานนั้น อนุภาคของของแข็งจะกระจายอยู่อย่างไม่เป็นระเบียบ เช่น แก้ว ยาง และพ ลาสติก เป็นต้น
ของแข็งป ระเภทนี้เมื่อให้ความร้อน จะค ่อยๆ อ่อนต ัวล ง จนเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว จึงม ีจุดหลอมเหลว
ที่ไ ม่แน่นอน
4. การว าดแ ผนผงั ก ารจ ดั เรียงต วั ข องอ นภุ าคในผ ลกึ นยิ มแ ทนต ำ�แหน่งข องอ นภุ าคในผ ลกึ ด ว้ ยจ ุด
เรียกว่า จุดแลตทิซ (lattice point) ก่อเกิดเป็นรูป โครงผ ลึกแ ลตทิซ (crystal lattice หรือ space lattice)
การแทนตำ�แหน่งอนุภาคด้วยจุดนี้ จะทำ�ให้ง่ายต่อการจำ�แนกและศึกษาโครงสร้างของผลึก การศึกษา
โครงสร้างข องผ ลึกน ั้น จะอ าศัยข ้อมูลท ี่ได้จ าก การเลี้ยวเบนข องร ังสีเอ็กซ์ (X-ray diffraction) ผ่านข ั้นต อน
การแปลผลข ้อมูลต ่างๆ จนออกมาเป็นโครงผลึกแลตทิซ