Page 52 - ชีววิทยาและเคมีสำหรับครู
P. 52

9-42

หลังเ​รยี น

       1. 	 ปรากฏการณ์​ธรรมชาติ​อย่างห​ นึ่งท​ ี่​แสดง​ถึงเ​รื่องค​ วามต​ ึง​ผิวข​ อง​ของเหลว นั่น​คือ การ​ที่​หยดน​ ํ้า​
บนใ​บบ​ ัวเ​กาะก​ ันเ​ป็นร​ ูปท​ รงก​ ลม ไมแ่​ ผ่ก​ ระจายค​ ลุมบ​ นผ​ ิวใ​บ การท​ ี่ห​ ยดน​ ํ้าเ​กาะเ​ป็นห​ ยดเ​ล็กๆ บนใ​บบ​ ัวโ​ดย​
ไม่แ​ ผ่ค​ ลุมเ​ป็นแ​ ผ่น​ บางๆ บนผ​ ิวใ​บ เป็นเ​พราะว​ ่าโ​มเลกุล​ของน​ ํ้าจ​ ะด​ ึงดูดแ​ ละย​ ึดเ​หนี่ยวก​ ันเองภ​ ายในห​ ยดน​ ํ้า
และ​หยด​นํ้า​มี​แนว​โน้ม​ที่​จะ​พยายาม​จัด​รูป​ทรง​ให้​มี​พื้นที่​ผิว​น้อย​ที่สุด นั่น​คือ​เป็น​ทรง​กลม เพื่อ​ให้​โมเลกุล​มี​
แรงดึงดูด​ระหว่างก​ ันท​ ี่​สูงพ​ อ​และ​มี​ความเ​สถียร​มากข​ ึ้น หยดน​ ํ้า​จึงม​ ีล​ ักษณะ​เป็นท​ รงก​ ลม

       2. 	 เนื่องจาก​โมเลกุล​ของ​ของเหลว​ชน​กัน​และ​แลก​เปลี่ยน​พลังงานจลน์​กัน​อยู่​ตลอด​เวลา โมเลกุล​
ที่​มี​พลังงานจลน์​สูง​และ​อยู่​ใกล้​บริเวณ​ผิว​ของ​ของเหลว​มี​โอกาส​ที่​จะ​เอาชนะ​แรง​ยึด​เหนี่ยว​ระหว่าง​โมเลกุล
แล้ว​หลุดอ​ อก​จากผ​ ิว​ของเหลวแ​ ละ​กลายเ​ป็นแ​ ก๊ส​ได้ กระบวนการเ​ช่นน​ ี้เ​รียก​ว่า การ​ระเหย (vaporization)
ปริมาณ​ความร​ ้อน​ที่ใ​ช้​ทำ�ให้ข​ องเหลว 1 โมลร​ ะเหย​ได้ห​ มด ณ อุณหภูมิห​ นึ่ง เรียกว​ ่า ความร​ ้อนข​ องก​ ารก​ลาย​
เป็น​ไอต​ ่อ​โมล (molar heat of vaporization)

       3. 	 ความ​สัมพันธ์​ของ​ความ​ดัน​กับ​การ​ละลาย​ของ​แก๊ส​มี​ความ​สำ�คัญ​ต่อ​นัก​ดำ�น​ ํ้า​มาก เมื่อ​ลง​ไป​ลึก​
จากผ​ ิวร​ ะดับน​ ํ้าท​ ะเลม​ ากๆ จะพ​ บว​ ่าค​ วามด​ ันข​ องบ​ รรยากาศใ​ต้ท​ ้องท​ ะเลจ​ ะเ​พิ่มข​ ึ้น ซึ่งจ​ ะม​ ีผ​ ลต​ ่อก​ ารล​ ะลาย​
ของ​แก๊ส N2 ใน​โลหิตส​ ูง​ขึ้น​ตาม​กฎ​ของ​เฮ​นรี การ​ละลายข​ อง N2 ที่​เพิ่ม​มาก​ขึ้น อาจท​ ำ�ให้เ​กิด​ปัญหา​ต่างๆ
ตามม​ า คอื เ​มือ่ แ​ กส๊ เฉือ่ ยล​ ะลายอ​ ยใู​่ นโ​ลหติ ม​ ากจ​ ะร​ บกวนก​ ารท​ ำ�งานข​ องร​ ะบบป​ ระสาท ทำ�ใหเ​้ กดิ ก​ ารส​ ลบห​ รอื ​
เสีย​ชีวิตอ​ ยู่ใ​ต้​นํ้า​ทะเลไ​ด้ อีกป​ ัญหาห​ นึ่งก​ ็ค​ ือ การ​เกิด​อาการท​ ี่เ​รียกว​ ่า ​เบนส​ ์ (the bends) หรือโ​รคเ​ค​ซอง
(caisson disease) เมือ่ น​ กั ป​ ระดาน​ ํา้ ล​ อยตวั จ​ ากใ​ตท​้ ะเลข​ ึน้ ส​ ผู​่ วิ นํา้ เ​รว็ เ​กนิ ไ​ป ความด​ นั บ​ รรยากาศข​ องภ​ ายนอก​
ลดล​ งเ​ร็วม​ าก แก๊ส N2 ทีล่​ ะลายอ​ ยูจ่​ ะป​ ุดอ​ อกจ​ ากโ​ลหิตอ​ ย่างร​ วดเร็วต​ ามค​ วามด​ ันย​ ่อยภ​ ายนอกท​ ีล่​ ดล​ งท​ ำ�ให​้
เกิด​ฟองแ​ ก๊ส​ใน​โลหิตแ​ ละ​ทำ�ให้​โลหิต​ไหล​เวียนไ​ม่​สะดวก มีผ​ ล​ต่อ​การ​ส่ง​ผ่าน​สัญญาณ​ใน​ระบบ​ประสาทจ​ น​
อาจ​ทำ�ให้​เสีย​ชีวิต​ได้ เพื่อ​ป้องกัน​อาการ​ดัง​กล่าว​นี้ นัก​ประดา​นํ้า​จะ​ใช้​ถัง​บรรจุ​แก๊ส​ผสม​ฮีเลียม-ออกซิเจน
แ​ ทนไ​นโตรเจน-ออกซิเจน​ในก​ ารช​ ่วยห​ ายใจ เพราะฮ​ ีเลียมล​ ะลายใ​นโ​ลหิตไ​ดน้​ ้อยม​ าก ส่วนอ​ อกซิเจนท​ ีล่​ ะลาย​
ไดม้​ ากข​ ึน้ ท​ คี​่ วามด​ ันส​ งู น​ ัน้ ไ​มท​่ ำ�ใหเ้​กิดอ​ าก​ ารเ​บนส​ แ​์ ตอ่​ ย่างใ​ด เพราะร​ า่ งกายส​ ามารถน​ ำ�ไ​ปใ​ชใ้​นเ​มแ​ ทบ​ อล​ ซิ​ ึม​
ได้ ดัง​นั้น​ความร​ ู้จ​ ากก​ ฎ​ของเ​ฮ​นรีอ​ าจช​ ่วยป​ ้องกันน​ ัก​ประดาน​ ํ้า​จากอ​ ันตราย​จากก​ ารด​ ำ�น​ ํ้าไ​ด้

       4. 	 จาก​การ​ศึกษา​การ​จัด​เรียง​ตัว​ของ​จุด​แลตทิซ​ใน 3 มิติ ทำ�ให้​สามารถ​จัด​ระบบ​ผลึก (crystal
system) ได้ 7 ระบบ ดัง​แสดงใ​นร​ ูป
   47   48   49   50   51   52   53   54