Page 7 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 7
(5)
รายละเอยี ดชุดวชิ า
ค�ำอธบิ ายชดุ วชิ า
60227 ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
(Economic History and History of Economic Thought)
วิวัฒนาการของโครงสร้างทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง การวิเคราะห์ปัญหาของระบบเศรษฐกิจนับแต่
อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเน้นประวัติศาสตร์เศรษฐกิจเปรียบเทียบของยุโรปและเอเชีย และการเปล่ียนแปลงของ
เศรษฐกิจโลก ตลอดจนบทบาทของทุน ผู้ประกอบการ แรงงาน บรรษัทข้ามชาติ และเทคโนโลยีท่ีมีผลต่อโครงสร้าง
และการพัฒนาของประเทศอุตสาหกรรมใหม่ในเอเชีย วิวัฒนาการของแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ โดยเน้นแนวคิดของ
สมิธ มัลธัส ริคาร์โด มาร์กซ์ มาร์แชล เคนส์ และนักเศรษฐศาสตร์หลังจากเคนส์ มิลตัน ฟรีดแมน ทฤษฎีกลุ่มพ่ึงพิง
ทางเศรษฐกิจและระบบโลกเศรษฐศาสตร์ส�ำหรับประเทศก�ำลังพัฒนาและแนวคิดเศรษฐศาสตร์สถาบันร่วมสมัยอ่ืนๆ
วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอ่ื ใหร้ แู้ ละเขา้ ใจประวตั ิ ววิ ฒั นาการของโครงสรา้ งในระบบเศรษฐกจิ สงั คม และการเมอื งในสมยั โบราณ
จนถึงสมัยปัจจุบัน
2. เพ่ือให้รู้และเข้าใจวิวัฒนาการของแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ ตั้งแต่สมัยท่ีเกิดลัทธิพาณิชย์จนถึงสมัย
ปัจจุบัน
3. เพ่ือให้รู้และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างทางเศรษฐกิจสังคมและการเมืองท่ีมีผลกระทบต่อ
แนวคิดและทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์
4. เพ่ือให้รู้และเข้าใจประวัติศาสตร์เศรษฐกิจเปรียบเทียบของยุโรปและเอเชีย
5. เพื่อให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของเศรษฐกิจโลกที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและ
การพัฒนาของประเทศกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ในเอเชีย
6. เพื่อให้รู้และเข้าใจวิวัฒนาการการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจเปรียบเทียบในประเทศเอเชียใน
แง่บทบาทของทุน ผู้ประกอบการ แรงงาน บรรษัทข้ามชาติ และเทคโนโลยี
รายชอื่ หนว่ ยการสอน
หน่วยท่ี 1 ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจกับประวัติแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
หน่วยท่ี 2 ระบบสังคมเศรษฐกิจสมัยกลาง การก้าวไปสู่ระบบทุนนิยมและลัทธิพาณิชย์นิยม
หน่วยที่ 3 การปฏิวัติอุตสาหกรรม
หน่วยท่ี 4 การเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 และคร้ังที่ 2
หน่วยท่ี 5 การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศพัฒนาแล้ว หลังสงครามโลกคร้ังที่ 2
หน่วยที่ 6 การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของประเทศก�ำลังพัฒนา
หน่วยท่ี 7 การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของประเทศในกลุ่มสังคมนิยม
หน่วยท่ี 8 แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ก่อนสมัยคลาสสิก
หน่วยที่ 9 แนวคิดคลาสสิก