Page 12 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 12
13-2 ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจและแ นวคิดทางเศรษฐศาสตร์
แผนการสอนป ระจ�ำ ห น่วย
ชดุ วิชา ป ระวัติศาสตร์เศรษฐกิจและแ นวคิดทางเศรษฐศาสตร์
หนว่ ยท ่ี 13 แนวคิดเศรษฐศาสตร์กระแสห ลักในป ัจจุบัน
ตอนท ่ี
13.1 แนวคิดก ารเงินนิยม
13.2 เศรษฐศาสตร์ค ลาสสิกใหม่
13.3 เศรษฐศ าสตร์เคนส์เซียนใหม่
แนวคิด
1. วิกฤตการณ์ท างเศรษฐกิจในท ศวรรษท ี่ 1970 และ 1980 ทำ�ให้เศรษฐศาสตร์เคนส ์เซียนสูญเสียค วามน่า
เชื่อถ ือไปร ะดับห นึ่ง โดยเฉพาะอ ย่างย ิ่ง ข้อก ล่าวห าท ีว่ ่า นักเศรษฐศ าสตรเ์คนส เ์ซียนไมใ่หค้ วามส ำ�คัญต ่อ
บทบาทของป ริมาณเงินและนโยบายก ารเงินในก ารรักษาเสถียรภาพข องระบบเศรษฐกิจเท่าท ี่ค วร
2. แนวคิดสำ�คัญที่วิพากษ์วิจารณ์เศรษฐศาสตร์เคนส์เซียนและเสนอกรอบทฤษฎีใหม่บนฐานของ
เศรษฐศาสตร์คลาสสิกเดิมก ็คือ แนวคิดก ารเงินน ิยม และเศรษฐศาสตร์ค ลาสสิกใหม่
3. แนวคิดการเงินนิยมเน้นความสำ�คัญของปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจว่าเป็นปัจจัยสำ�คัญในระยะสั้นที่
กระทบระดับผ ลผลิต รายได้ที่แ ท้จริง และการจ ้างง าน แต่ในระยะย าว ปริมาณเงินจะม ีอ ิทธิพลต ่อระดับ
ราคาแ ละร ายได้ป ระชาชาติที่เป็นต ัวเงินเป็นส ำ�คัญ
4. ท ฤษฎีเศรษฐศาสตร์คลาสสิกใหม่เสนอสมมติฐานว่าด้วยการคาดคะเนแบบสมเหตุสมผล ที่ปัจเจกชน
ใช้ข่าวสารข้อมูลที่มีอยู่ทั้งหมดเพื่อประเมินระดับราคาที่แท้จริงและเพื่อปรับอัตราค่าจ้างที่เป็นตัวเงินให้
สอดคล้องก ัน ทำ�ใหน้ โยบายก ารเงินท ีม่ ลี ักษณะซ ํ้าซากห รือก ระทำ�เป็นร ะบบโดยร ัฐบาลแ ละธ นาคารก ลาง
ไม่มีผ ลต ่อผ ลผลิต รายได้ที่แท้จริง และก ารจ ้างงานแม้แต่ในร ะยะส ั้น
5. ก ารพ ฒั นาท ฤษฎเี ศรษฐศาสตรม์ หภาคบ นฐ านจ ลุ ภาค ในก รอบด ลุ ยภาพท ัว่ ไป โดยอ าศยั ท ฤษฎพี ฤตกิ รรม
จุลภาคข องผ ู้บ ริโภคป ัจเจกช นและหน่วยผ ลิตปัจเจกช น เพื่อวิเคราะห์ผลกระท บของน โยบายรัฐบาลที่มี
ต่อก ารต ัดสินใจร ะดับจ ุลภาคไดอ้ ย่างถ ูกต ้อง และเป็นพ ื้นฐ านข องท ฤษฎวี ัฏจักรธ ุรกิจจ ริง ซึ่งอ ธิบายภ าวะ
ขึ้นลงในร ะยะส ั้นข องร ะบบเศรษฐกิจว่ามีส าเหตุมาจ าก “ช็อกผ ลิตภ าพ” ทั้งทางบวกและลบ
6. เศรษฐศาสตร์เคนส์เซียนใหม่เสนอแ บบจ ำ�ลองตลาดแ รงงานแ ละตลาดผ ลผลิตท ี่แข่งขันไม่สมบูรณ์ เป็น
ผลใหท้ ั้งร าคาส ินค้าแ ละอ ัตราค ่าจ ้างท ี่แทจ้ ริงม ลี ักษณะไมย่ ืดหยุ่น ตลาดแ รงงานไมป่ รับต ัวส ูภ่ าวะก ารจ ้าง
งานเต็มที่และเกิดภ าวะว ่างงานโดยไม่สมัครใจเรื้อรังขึ้น