Page 17 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 17
แนวคิดเศรษฐศาสตร์กระแสห ลักในปัจจุบัน 13-7
เรือ่ งที่ 13.1.2
ทฤษฎีป ริมาณเงนิ
รากฐานท ี่มาข องแนวคิดก ารเงินน ิยมค ือ ทฤษฎีป ริมาณเงิน (The Quantity Theory of Money) ซึ่งเชื่อว่า
ปริมาณเงินในร ะบบเศรษฐกิจกำ�หนดร ะดับราคาส ินค้า แต่ไม่ก ระทบร ะดับการจ้างงานและผ ลผลิตที่แท้จริง แนวคิด
เบื้องต้นของท ฤษฎีป ริมาณเงินมีป ระวัติย้อนห ลังไปยาวนานถ ึงเดวิด ฮูม (David Hume) ในศ ตวรรษท ี่ 18 แต่ได้รับ
การพ ัฒนาข ึ้นอ ย่างเป็นร ะบบเมื่อต ้นศ ตวรรษท ี่ 20 โดยน ักเศรษฐศาสตร์ช าวอ เมริกันแ ห่งม หาวิทยาลัยเยลช ื่อ เออ ร์ว ิง
ฟิชเชอร ์ (Irving Fisher) โดยสรุปแนวคิดด ังกล่าวเป็นค วามส ัมพันธ์ท ี่เรียกว่า สมการแ ลกเปลี่ยน (The Equation
of Exchange) ดังต่อไปน ี้
MVT = PTT ..........(13.1)
โดยที่ M คือป ริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
VPTTT คืออ ัตราก ารหมุนรอบของเงิน
คือร ะดับราคาสินค้า
คือปริมาณส ินค้าบ ริการท ี่ซ ื้อขายในระบบ
คำ�อธิบายต่อสมการดังกล่าวคือ การแลกเปลี่ยนสินค้าในระบบเศรษฐกิจจะต้องกระทำ�โดยใช้เงินตราเป็น
พาหะ นัยหนึ่ง เงินตราเป็นปัจจัยหล่อลื่นให้สินค้าบริการนานาชนิดสามารถหมุนเวียนไปสู่มือของผู้ที่ต้องการได้
เช่น บในาทระ(Mบบ=เศ5ร0ษ0)ฐฉกะิจนมั้นีกาปรรซิมื้อาขณาเยงสินินด คังก้าบลร่าวิกจาะรตเป้อ็นงหมมูลุนคเ่าป3ล,ี่ย0น00ม ือบใาหท้ผตู้ค่อนปสี า(มPTารTถ=ใช3้ซ,0ื้อ0ส 0ิน)คแ้าลบ ะรมิกีาปรรทิมี่ตา้อณงเกงาินรอไดยู่้
500
เป็นจ ำ�นวน ห6ารกอปบรติม่อาปณี (เPงินTTล/ดMลง=เห3ล,0ือ0100/500บ0า=ท6()Mหา=ก3ป0ร0ิม)าเณงินเงจ ินำ�นต วรนามดีจังำ�กนลว่านวจนะ้อตย้อกงวห่ามน ุนี้ เงเปินลตี่ยรานกม็จือะถต ึง้อ1ง0ห มรอุนบรตอบ่อ
เร็วขึ้น เช่น
ปี (PTT/Mตัว=แป3ร,00T0/ใ3น0ส0ม=กา1ร0)(1เป3.็น1ต) ้นรวมการซ ื้อขายส ินค้าบริการท ุกชนิด ทั้งเก่าและใหม่ และการซื้อขายสินทรัพย์
ต่างๆ ตัวแปร T จึงไม่สะท้อนถึงปริมาณผลผลิตที่แท้จริงของระบบเศรษฐกิจโดยตรง แต่ในเศรษฐศาสตร์มหภาค
ตัวแปรส ำ�คัญคือ รายได้ประชาชาติ ซึ่งรวมเฉพาะมูลค่าสินค้าบริการท ี่ผลิตขึ้นใหม่ในแต่ละปีเท่านั้น ฉะนั้น สมการ
(13.1) สามารถด ดั แปลงโดยน ับเฉพาะม ูลค่าก ารซ ือ้ ข ายส ินค้าบ ริการท ีผ่ ลิตข ึน้ ใหมใ่นแ ต่ละป ี ซึ่งก ค็ อื รายไดป้ ระชาชาติ
นั่นเอง นัยห นึ่ง แทนตัวแปร T ด้วย Y ซึ่งหมายถ ึงปริมาณสินค้าบริการท ี่ผลิตข ึ้นใหม่ในปีน ั้น ส่วนตัวแปร VT และ PT
ก็ต ้องแก้ไขให้เป็นก รณีการซื้อขายสินค้าบ ริการที่ผ ลิตขึ้นใหม่ ดังนี้