Page 20 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 20

13-10 ประวัติศาสตร์​เศรษฐกิจแ​ ละ​แนวคิด​ทาง​เศรษฐศาสตร์

เรอ่ื ง​ที่ 13.1.3
ทฤษฎีแ​ ละ​นโยบาย​ของ​แนวคดิ ​การเ​งิน​นิยม

       กรอบ​ทฤษฎี​ของ​แนวคิด​การ​เงิน​นิยม​เป็นการ​ปรับปรุง​ทฤษฎี​ปริมาณ​เงิน​ที่​พัฒนา​ขึ้น​ใน​ยุค​ก่อน​เคน​ส์​ให้​ทัน​
สมัย​โดย​พิจารณา​ถึง​ปัจจัย​สำ�คัญ​ที่ม​ ิได้ป​ รากฏใ​นส​ มการ (13.2) และ (13.5) อัน​ได้แก่ สินทรัพย์ท​ างการ​เงิน และอ​ ัตรา​
ดอกเบี้ย โดยย​ ัง​คงย​ ืนยัน​ใน​ข้อส​ รุปเ​ดิม​ว่า​ด้วยค​ วามส​ ัมพันธ์​ระยะย​ าวร​ ะหว่างป​ ริมาณ​เงินแ​ ละ​ระดับร​ าคาส​ ินค้า

       ศาสตรา​จาร​ย์​มิล​ตัน ฟรี​ดมัน (Milton Friedman) แห่ง​มหาวิทยาลัย​ชิคาโก นับ​เป็น​บุคคล​สำ�คัญ​ที่สุด​ใน​
การ​รื้อฟื้น​และ​ปรับปรุง​ทฤษฎี​ปริมาณ​เงิน​ของ​นี​โอ​คลาสสิก ตลอด​จน​ใช้​เป็น​เครื่อง​มือ​ใน​การ​วิพากษ์​วิจารณ์​ทฤษฎี​
และ​นโยบาย​มหภาค​แบบ​เคน​ส์​เซียน ความ​พยายาม​ครั้ง​สำ�คัญ​ของ​ฟรี​ดมัน​คือ​บทความ​ตี​พิมพ์​ใน​ปี 1956 ที่​มุ่ง​ขยาย​
ความ​ทฤษฎี​ปริมาณ​เงิน​ให้​กว้าง​ขึ้น ฟรี​ดมัน​เริ่ม​ต้น​ด้วย​การ​เสนอ​สมการ​ความ​ต้องการ​ถือ​เงิน​ใน​รูป​แบบ​ที่​แตก​ต่าง​
จากเ​คน​ส์ ดังนี้

   	Md	 =	 L (P, Y, ra)	                                                                                                               ..........(13.6)

   โดยที่ 	 ra	 คือ​อัตราผ​ ลต​ อบแทนจ​ ากก​ าร​ถือส​ ินทรัพย์ เช่น พันธบัตร หุ้นบ​ ริษัท สินค้าค​ งทน เป็นต้น

   สมการ (13.6) แสดงว​ ่า ความต​ ้องการ​ถือเ​งิน​ถูก​กำ�หนดโ​ดย​ระดับ​ราคาส​ ินค้า (P) รายไ​ด้ที่​แท้จริง (Y) และ​

ทอัตี่แ​ ทรา้จผ​รลิง​นต​ อั้นบเแปท็นนกจ​าราก​สส​ืบินเ​นทื่อรงัพโ​ดยย์ (rตaร)งจ​จะาเ​หก​น็นักไ​ด​เศ้ว​ ร่าษคฐวศ​ามาสส​ ตัมรพ์​เคันมธ์ร​​บะรหิดวจ่า์แ​งลค​ ะว​เาคมนต​ ส​้อ์ งสก่วานรอ​ถ​ ัตือรเ​งาินผ​ ก​ลับต​ ร​อะบดแับทร​นา​จคาากแ​ ส​ลินะร​ทารยัพไ​ดย้์

(ถrือa)​สนินั้นทม​รัพีค​ ยวา์​มมา​สกัม​ขึ้นพแ​ันลธะ์ใ​​มนีค​​ทวางาล​มบ​ตก​้อับงกค​ าวรา​ถมือต​​เ้งอินงก​นา้อรย​ถ​ลือง​เงเินป็นเตช่น้น  หากผ​ ล​ตอบแทน​จากส​ ินทรัพย์ส​ ูง​ขึ้น ผู้คนก​ ็​จะ​หันไ​ป​
                                                                                                                                       ดัง​กล่าว​ใน​เรื่อง​ที่ 13.1.2 สมการค​ วามต​ ้องการ​ถือเ​งิน​

ของน​ ัก​เศรษฐ​ศาสตร์​เคม​บริดจ์​ได้แก่

   	Md	 =	 k P Y	                                                                                                                      สมการ (13.3) ในเรื่องที่ 13.1.2	

       ซึ่ง​กำ�หนด​ให้ k เป็นค​ ่า​คงที่ แต่ส​ มการ (13.6) ของฟ​ รีด​ มัน​แสดงว​ ่า k มิใช่ค​ ่า​คงที่ หากแ​ ต่ข​ ึ้น​อยู่ก​ ับอ​ ัตรา​ผล​
ตอบแทนจ​ ากส​ ินทรัพย์ (ra) ฉะนั้น สมการ (13.3) สามารถเ​ขียน​ใหม่​ได้ด​ ังนี้

   	Md	 =	 k(ra) PY	                                                                                                                   ..........(13.7)

ดังนี้ โดยที่ 	 k(ra)  แสดงว​ ่า ค่า k ถูก​กำ�หนดโ​ดย ra ฉะนั้น ณ จุด​ดุลยภาพ อุปทานเ​งินเ​ท่ากับค​ วามต​ ้องการ​ถือ​เงิน

	                                        M 	 =	 Md  =  k(ra) PY	                                                                       ..........(13.8)
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25