Page 21 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 21
แนวคิดเศรษฐศาสตร์กระแสหลักในปัจจุบัน 13-11
จากน ั้น ฟรีด มันเสนอผ ลง านว ิจัยเชิงป ระจักษ์ท ี่แ สดงว ่า ความต ้องการถ ือเงินเป็นฟ ังก ์ชันที่ม ีเสถียรภาพ และ
คตคัืวอวแาปมปรตริม้อrางaณกมาเีองรินิทถธือ(ิพMเงลิน)ตมม่อีคีค kววาาไมมมไส่มวัมาตกพํ่านตันัก่อธก์โกดารรยะเตทปรั่งลงอี่ยกานับจแถรปาือยลวไง่าดอk้ทัตเี่เรสปาม็นผือตลนัวตเเอปงบิน็นแ“(ทPคนY่าจค) าโงดกทสยี่”ินทไที่กดรา้ ฉรัพเะยปน์ลั(้นrี่ยaนน) ัยแนสปัยำ�ลหคงนัญปึ่งรขใิมอนางสณสมมเกงกินาารใรน((1ร13ะ3.บ.88บ))
เศรษฐกิจจะม ีผลต่อร ะดับร ายได้ที่เป็นตัวเงินในท ิศทางเดียวกัน แต่ค วามส ัมพันธ์ด ังกล่าวเป็นเพียง “โดยป ระมาณ”
เช่น หากปริมาณเงินเพิ่มขึ้นร ้อยละ 5 รายได้ที่เป็นต ัวเงินก็จะเพิ่มขึ้นป ระมาณร ้อยล ะ 5 เช่นก ัน
นอกจากนี้ ฟรีด มันยังเชื่อว ่า การใช้จ ่ายล งทุนของเอกชนได้รับอิทธิพลอ ย่างมากจากอ ัตราดอกเบี้ย เช่น การ
เพิ่มข ึ้นเพียงเล็กน ้อยของอัตราด อกเบี้ยจ ะท ำ�ให้การใช้จ ่ายลงทุนล ดลงอย่างมาก
นัยท างน โยบายของท ฤษฎีปริมาณเงินข องฟ รีด มันก็คือ การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินและการด ำ�เนินนโยบาย
การเงินของธนาคารกลางจะมีอิทธิพลอย่างมากต่อรายได้ป ระชาชาติที่เป็นตัวเงิน เช่น การดำ�เนินนโยบายการเงินแบบ
ผ่อนค ลายโดยที่ธ นาคารก ลางเพิ่มป ริมาณเงินในร ะบบเศรษฐกิจ จะม ีผ ลให้อ ัตราด อกเบี้ยล ดล งซ ึ่งจ ะไปก ระตุ้นก ารใช้
จ่ายล งทุนของเอกชนให้เพิ่มข ึ้น และมีผ ลให้รายได้ประชาชาติที่เป็นตัวเงินเพิ่มข ึ้นเป็นทวีคูณ
ในทางตรงข้าม ฟรีดมันเชื่อว่า นโยบายการคลังของรัฐบาลที่แทรกแซงระบบเศรษฐกิจโดยผ่านการใช้จ่าย
ของรัฐบาลและการจัดเก็บภาษีไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรายได้ประชาชาติที่แท้จริงมากนัก เช่น รัฐบาลใช้จ่ายเพิ่ม
ขึ้นเพื่อก ระตุ้นเศรษฐกิจ แต่ในข ณะเดียวกัน รัฐบาลก ็จ ะต ้องข าดด ุลง บป ระมาณม ากข ึ้นแ ละจ ะต ้องก ู้ย ืมจ ากป ระชาชน
โดยการขายพันธบัตรม ากขึ้น แต่ก ารกู้ยืมข องร ัฐบาลก ็ท ำ�ให้อัตราด อกเบี้ยเพิ่มส ูงข ึ้น ซึ่งจ ะทำ�ให้ก ารใช้จ่ายล งทุนของ
เอกชนล ดต ํ่าล ง ผลกระท บข องก ารเพิ่มร ายจ่ายข องรัฐบาลจึงถ ูกล บล้างด ้วยการลดล งข องก ารใช้จ ่ายลงทุนของเอกชน
ทำ�ให้เกิดผลกระทบสุทธิเพียงเล็กน้อยต่อรายได้ประชาชาติที่แท้จริง ฉะนั้น นโยบายการคลังของรัฐบาลจึงไม่ใช่
เครื่องมือที่ม ีประสิทธิผลในก ารส ร้างเสถียรภาพข องร ะบบเศรษฐกิจ
แม้วา่ ปริมาณเงินจ ะม อี ทิ ธิพลโดยตรงต ่อร ะดับร ายไดป้ ระชาชาตทิ ีเ่ป็นต ัวเงนิ แตฟ่ รดี มันก ลับเห็นว า่ นโยบาย
การเงนิ ข องธ นาคารก ลางม ใิ ชเ่ ครือ่ งม อื ท ชี่ ว่ ยแ กป้ ญั หาว า่ งง านห รอื เงนิ เฟอ้ แ ตอ่ ยา่ งใด หากแ ตก่ ลบั ท �ำ ใหร้ ะบบเศรษฐกจิ
ไร้เสถียรภาพม ากย ิ่งข ึ้น ทั้งนี้เพราะฟ รีด มันเชื่อว ่า ระบบเศรษฐกิจภ าคเอกชนโดยต ัวเองม ีเสถียรภาพส ูง สามารถป รับ
ตัวเองต่อผลกระทบทั้งจากในและนอกระบบ (เช่น การเปลี่ยนกระทันหันของการลงทุน การขึ้นราคานํ้ามันเชื้อเพลิง
เป็นต้น) ได้อ ย่างรวดเร็วแ ละค ่อนข ้างราบร ื่น แต่ก ารที่ธนาคารกลางเข้าแทรกแซงด ้วยน โยบายการเงินโดยเชื่อว ่า ตน
สามารถส รา้ งเสถยี รภาพใหแ้ กร่ ะบบเศรษฐกจิ ได้ กลบั ท �ำ ใหร้ ายไดป้ ระชาชาตทิ เี่ ปน็ ต วั เงนิ ม กี ารกร ะเพือ่ ม ข ึน้ ล งม ากกวา่
ที่ควรจ ะเป็น และท ำ�ให้ระบบเศรษฐกิจม ีเสถียรภาพน ้อยล ง
ฟรีดมันสรุปว่า ธนาคารกลางไม่ควรดำ�เนินนโยบายการเงิน “เชิงรุก” คือ ไม่ควรมุ่งเข้าแทรกแซงระบบ
เศรษฐกิจเพื่อ “สร้างเสถียรภาพ” หรือ “แก้ปัญหาว ่างง านแ ละเงินเฟ้อ” เพราะน โยบายด ังกล่าวม ีผ ลในท างต รงข ้าม
ที่ท ำ�ให้ระบบเศรษฐกิจไร้เสถียรภาพ ทางออกค ือ ธนาคารกลางค วรป ฏิบัติต าม “กฎก ารเงิน” (monetary rules) ที่
ตายตัวโดยไม่ต้องพิจารณาถ ึงภาวะเศรษฐกิจในร ะยะสั้น และกฎที่ฟ รีดมันเสนอคือ “กฎการเพิ่มปริมาณเงินในอัตรา
คงที่” (The constant money growth rule) เช่น กำ�หนดล ่วงห น้าให้เพิ่มปริมาณเงินในระบบบในอ ัตราร้อยล ะ 5
ต่อป ี เป็นต้น ฟรีด มันให้เหตุผลว ่า หากป ริมาณเงินเพิ่มข ึ้นในอ ัตราค งที่ในร ะยะย าวแ ล้ว รายได้ป ระชาชาติท ี่เป็นต ัวเงิน
ก็จ ะเพิ่มข ึ้นในอัตราคงที่ในร ะยะย าวเช่นกันด ังป รากฏในส มการ (13.8) และห ากผ ลผลิตท ี่แท้จ ริง (Y) เพิ่มข ึ้นในอ ัตรา
คงที่ เช่น ร้อยล ะ 2 ต่อปี ก็หมายความว่า ระดับราคาส ินค้าในร ะบบจ ะเพิ่มขึ้นร้อยล ะ 3 ต่อป ี ดังนี้