Page 26 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 26

13-16 ประวัติศาสตร์​เศรษฐกิจ​และแ​ นวคิด​ทาง​เศรษฐศาสตร์

       นัย​หนึ่ง คน​งาน​ทำ�การ​คาด​คะเน​ระดับ​ราคา​ปัจจุบัน​โดย​มิ​เพียง​ใช้​ระดับ​ราคา​สินค้า​ใน​อดีต​เท่านั้น แต่​ยัง​ใช้​
ประสบการณ์จ​ าก​ตัวแปร​อดีต​อื่นๆ ที่​ตนท​ ราบ เช่น พฤติกรรม​และน​ โยบายข​ องธ​ นาคารก​ ลางใ​นอ​ ดีต ระดับ​การ​ใช้​จ่าย
การจ​ ัดเ​ก็บภ​ าษี และป​ ริมาณเ​งินใ​นอ​ ดีต และค​ ่าค​ าดค​ ะเนข​ องต​ ัวแปรด​ ังก​ ล่าวใ​นป​ ัจจุบัน เป็นต้น ยิ่งก​ ว่าน​ ั้น การส​ มมต​ิ
ให้ท​ ั้งน​ ายจ้าง​และ​คนง​ าน “สามารถร​ ะบุค​ วามส​ ัมพันธ์ร​ ะหว่างต​ ัวแปรต​ ่างๆ ได้อ​ ย่าง​ถูกต​ ้อง ก็เ​ท่ากับส​ มมติใ​ห้พ​ วก​เขา​
มีก​ ระบวนการค​ ิดแ​ ละค​ าดค​ ะเนอ​ ย่างเ​ป็นร​ ะบบเ​สมือนห​ นึ่ง มีแ​ บบจ​ ำ�ลองท​ างเ​ศรษฐกิจอ​ ันซ​ ับซ​ ้อนอ​ ยู่ใ​นห​ ัวส​ มอง” อีก​
ด้วย สมมติฐาน​ดังก​ ล่าว​มี​ลักษณะต​ รง​ไป​ตรงม​ า​และ​ค่อน​ข้าง​รุนแรง และ​ก็ม​ ี​นัย​ทางน​ โยบายท​ ี่แ​ ตกต​ ่างอ​ ย่างส​ ิ้นเ​ชิง​ไป​
จาก​เศรษฐศ​ าสตร์เ​คนส​ ์​เซียน ตลอดจ​ นไ​ปส​ นับสนุน​ข้อคิด​พื้น​ฐานข​ องแ​ นวคิดก​ าร​เงิน​นิยม​ว่า​ด้วย​บทบาท​ของร​ ัฐบาล​
และ​ธนาคารก​ ลาง​ให้​เข้ม​แข็ง​ชัดเจนแ​ ละ​เป็นร​ ะบบย​ ิ่งข​ ึ้น

  กิจกรรม 13.2.1
         อธิบาย​สมมติฐานว​ า่ ​ดว้ ยก​ าร​คาด​คะเนท​ ​่สี ม​เหตส​ุ ม​ผล

  แนว​ตอบก​ ิจกรรม 13.2.1
         ทง้ั น​ ายจา้ งแ​ ละค​ นง​ านจ​ ะท​ �ำ การค​ าดค​ ะเนค​ า่ ตวั แ​ ปรใ​ดๆ (เชน่ ระดบั ร​ าคาส​ นิ คา้ ป​ จั จบุ นั ) โดยใ​ชข​้ า่ วสาร​

  ขอ้ มูล​และค​ ่าตวั แ​ ปร​ อ่ืนๆ ท​่ีเกีย่ วข้องแ​ ละท​ ม่ี​ ี​อย่ทู​ ้ังหมดอ​ ยา่ งม​ ​ปี ระสิทธภิ าพ​ชาญ​ฉลาด โดยส​ ามารถ​ระบุ​ความ​
  สัมพันธร์​ ะหวา่ ง​ตวั แปรต​ า่ งๆ ได้​อย่างถ​ ูกต​ อ้ ง

เร่อื ง​ท่ี 13.2.2
ทฤษฎ​แี ละ​นโยบาย​ของ​เศรษฐศาสตร​์คลาสสิกใ​หม่

       นักเ​ศรษฐศาสตร์ค​ ลาสสิกใ​หม่จ​ ำ�แนกน​ โยบายข​ องร​ ัฐบาลใ​นก​ ารส​ ร้างเ​สถียรภาพแ​ ก่ร​ ะบบเ​ศรษฐกิจอ​ อกเ​ป็น​
สองป​ ระ​เภท​ใหญ่ๆ คือ นโยบาย​รัฐบาลท​ ี่​ภาค​เอกชนค​ าดร​ ู้ล​ ่วงห​ น้า และ​นโยบาย​ที่ไ​ม่รู้ล​ ่วงห​ น้า

       นโยบายร​ ัฐบาลท​ ี่ภ​ าค​เอกชน​คาด​รู้ล​ ่วง​หน้า​ได้แก่ นโยบาย​ที่ร​ ัฐบาลเ​คยก​ ระทำ�​มา​แล้ว​ใน​อดีต และ​ได้น​ ำ�​กลับ​
มาก​ระ​ทำ�​ซํ้า​ใน​รูป​แบบ​เดิม หรือ​เป็น​นโยบาย​ที่​รัฐบาล​ประกาศ​ล่วง​หน้า​โดยที่​ภาค​เอกชน​ก็​เชื่อ​ว่า รัฐบาล​จะ​ทำ�​ตาม​ที่​
ประกาศ​อย่าง​แน่นอน หัวใจ​สำ�คัญ​คือ ภาค​เอกชน​รับ​รู้​ล่วง​หน้า​ว่า รัฐบาล​กำ�ลัง​จะ​แทรกแซง​ระบบ​เศรษฐกิจ​อย่างไร
ใน​กรณี​เหล่า​นี้ นัก​เศรษฐศาสตร์​คลาสสิก​ใหม่​เห็น​ว่า การก​ระ​ทำ�​ของ​รัฐบาล​จะ​มี​ผล​แต่​เพียง​ทำ�ให้​ระดับ​ราคา​สินค้า​
และ​ค่า​จ้าง​ที่​เป็น​ตัว​เงิน​สูง​ขึ้น​เท่านั้น แต่​จะ​ไม่มี​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​ระดับ​ผลผลิต การ​จ้าง​งาน และ​ระดับ​ค่า​จ้าง​ที่แท้​จริง​
แต่​อย่าง​ใด ทั้งนี้​เนื่องจาก​ภาค​เอกชน​รู้​ล่วง​หน้า​ว่า​รัฐบาล​กำ�ลัง​ทำ�​อะไร และ​ได้​ปรับ​การ​คาด​คะเน​ระดับ​ราคา​ได้​อย่าง​
ถูก​ต้อง ตัวอย่างเ​ช่น ธนาคารก​ ลางด​ ำ�เนินน​ โยบาย​การ​เงินแ​ บบข​ ยายต​ ัวด​ ้วย​การเ​พิ่ม​ปริมาณ​เงิน​ในร​ ะบบเ​ศรษฐกิจ​อีก​
ร้อยล​ ะ 5 ทั้ง​นายจ้าง​และ​คนง​ าน​ก็จ​ ะค​ าด​คะเนไ​ด้ล​ ่วงห​ น้า​ว่า ราคาส​ ินค้า​จะเ​พิ่ม​สูง​ขึ้นป​ ระมาณ​ร้อยล​ ะ 5 จึงต​ ่าง​เพิ่ม​
ระดับ​ราคาส​ ินค้า​และ​อัตรา​ค่า​จ้างท​ ี่​เป็นต​ ัว​เงินข​ ึ้นอ​ ีกร​ ้อยล​ ะ 5 ทำ�ให้อ​ ัตรา​ค่าจ​ ้างท​ ี่แท้​จริงย​ ังค​ ง​อยู่​ที่​ระดับ​เดิม เป็น​ผล​
ให้การ​จ้างแ​ รงงาน การผ​ ลิต และ​ผลผลิตท​ ี่แท้​จริงย​ ัง​คง​อยู่ท​ ี่​ระดับ​เดิมด​ ้วย
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31