Page 27 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 27

แนวคิดเ​ศรษฐศาสตร์ก​ ระแสห​ ลักใ​นป​ ัจจุบัน 13-17

       ส่วน​นโยบาย​รัฐบาล​ที่​ภาค​เอกชน​ไม่รู้​ล่วง​หน้า​ได้แก่ นโยบาย​ที่​รัฐบาล​ได้​กระทำ�​เป็น​ครั้ง​แรก​หรือ​กระทำ�​โดย​
ไม่ซ​ ํ้าร​ อยเ​ดิม ซึ่งก​ ็ค​ ือ การ​เปลี่ยนแปลง​ปริมาณ​เงินใ​น​ระบบเ​ศรษฐกิจอ​ ย่างไ​ม่​เป็นร​ ะบบ เช่น เพิ่มป​ ริมาณเ​งิน​ร้อย​ละ
3 เมื่อ​ปีท​ ี่แ​ ล้ว เพิ่ม​ร้อยล​ ะ 5 ในป​ ี​นี้ เพิ่ม​ร้อยล​ ะ 4 ในปีต​ ่อไ​ป นโยบาย​เช่น​นี้เ​รียก​ว่า การส​ ร้าง​ความ​แปลกใ​จท​ างการเ​งิน
(monetary surprise) ซึ่งท​ ำ�ให้ภ​ าคเ​อกชนไ​ม่ส​ ามารถค​ าดค​ ะเนผ​ ลกร​ ะท​ บข​ องน​ โยบายร​ ัฐบาลไ​ด้อ​ ย่างถ​ ูกต​ ้องท​ ันก​ าล
เช่น หากธ​ นาคารก​ ลางเ​พิ่ม​ปริมาณเ​งิน​ใน​ระบบ​เศรษฐกิจ​อีก​ร้อยล​ ะ 3 อย่าง​ฉับ​พลัน​หรือ​อย่างล​ ับๆ ระดับร​ าคา​สินค้า​
ก็​จะส​ ูงข​ ึ้น นายจ้างจ​ ึง​จ้าง​งาน​เพิ่ม​ขึ้นด​ ้วยก​ ารจ​ ่าย​ค่าจ​ ้างท​ ี่เ​ป็น​ตัวเ​งินส​ ูงข​ ึ้น แต่ค​ นง​ านไ​ม่รู้ว​ ่า ระดับร​ าคา​ได้ส​ ูงข​ ึ้นแ​ ละ​
มิได้ป​ รับ​การค​ าดค​ ะเนข​ อง​ตน จึง​เข้าใจ​ผิด​ว่า ค่าจ​ ้างท​ ี่แท้​จริง​ได้​เพิ่ม​ขึ้น คน​งาน​จึง​ยินดี​เสนอข​ ายแ​ รงงาน​มากข​ ึ้น การ​
จ้าง​งานท​ ี่เ​พิ่มข​ ึ้น​เป็นผ​ ล​ให้การ​ผลิต และ​ผลผลิต​ที่แท้​จริงส​ ูง​ขึ้น แต่​เมื่อเ​วลา​ผ่านไ​ป คนง​ าน​ก็จ​ ะเ​ริ่มร​ ับ​รู้ร​ ะดับร​ าคาท​ ี่
แท้​จริง และ​ปรับ​ตัว​ด้วย​การ​เรียก​ร้อง​ค่า​จ้าง​ตัว​เงิน​ที่​สูง​ขึ้น​เพื่อ​ชดเชย​กับ​ระดับ​ราคา​ที่​สูง​ขึ้น ใน​ที่สุด​ระดับ​ค่า​จ้าง​ที่
แท้จ​ ริง​ก็​จะ​สูง​ขึ้น ทำ�ให้​การ​จ้าง​งาน การ​ผลิต และ​ผลผลิตท​ ี่แท้จ​ ริงล​ ด​กลับม​ า​สู่ร​ ะดับเ​ดิมใ​น​ที่สุด

       จาก​ข้อ​วิเคราะห์​ดัง​กล่าว นัก​เศรษฐศาสตร์​คลาสสิก​ใหม่​จึง​สรุป​ว่า นโยบาย​ของ​รัฐบาล​ที่​ภาค​เอกชน​คาด​รู้​
ล่วงห​ น้า​ได้น​ ั้น จะไ​ม่มีผ​ ลก​ระท​ บ​ต่อ​ภาค​เศรษฐกิจท​ ี่แท้​จริง หากเ​พียงแ​ ต่​ทำ�ให้​ระดับ​ราคาแ​ ละค​ ่าจ​ ้างต​ ัว​เงิน​เปลี่ยน​ไป​
เท่านั้น ฉะนั้น นโยบายช​ นิดน​ ี้จ​ ึง​ไม่มีป​ ระโยชน์​และ​ไม่มีผ​ ลใ​น​การส​ ร้างเ​สถียรภาพแ​ ก่​ระบบ​เศรษฐกิจ​แต่อ​ ย่าง​ใด ส่วน​
นโยบายร​ ัฐบาลท​ ี่​เอกชนไ​ม่รู้​ล่วง​หน้าน​ ั้น แม้จ​ ะ​มีผ​ ล​ต่อ​ระดับ​การจ​ ้างง​ านแ​ ละ​ผลผลิตท​ ี่แท้จ​ ริงใ​นร​ ะยะส​ ั้น แต่ร​ ัฐบาล​
ก็​ไม่​ควร​กระทำ�​เพราะ​นโยบาย​ชนิด​นี้​มี​ผล​ไป​ทำ�ลาย​เสถียรภาพ​ของ​ระบบ​เศรษฐกิจ เนื่องจาก​รัฐบาล​จะ​ต้อง​เปลี่ยน​
ราย​ละเอียด​ของ​นโยบาย (เช่น อัตราก​ ารเ​พิ่มป​ ริมาณเ​งิน) อยู่ต​ ลอดเ​วลาไ​ม่​ให้ซ​ ํ้า​รอยเ​ดิม เพราะ​หากซ​ ํ้า​รอยเ​ดิม ก็​จะ​
กลาย​เป็น​นโยบายท​ ี่​ภาค​เอกชน​คาด​รู้​ล่วง​หน้า​และ​ก็​จะ​ไม่​ได้​ผล แต่​การ​เปลี่ยน​พฤติกรรม​ทาง​นโยบาย​อยู่​ตลอด​เวลา​
ดังก​ ล่าว​ทำ�ให้​อัตรา​การเ​พิ่มป​ ริมาณเ​งิน​มีล​ ักษณะ​ไม่ส​ มํ่าเสมอ ผลก​ ็ค​ ือ ระดับ​ราคาแ​ ละ​รายไ​ด้ป​ ระชาชาติ​ที่​เป็น​ตัว​เงิน​
ก็จ​ ะเ​พิ่มใ​นอ​ ัตราไ​ม่ส​ มํ่าเสมอ​ไปด​ ้วย ทำ�ให้ร​ ะบบ​เศรษฐกิจ​มีเ​สถียรภาพน​ ้อยล​ ง ซึ่งก​ ็ข​ ัดก​ ับจ​ ุดป​ ระสงค์เ​ดิมข​ องร​ ัฐบาล​
ที่ต​ ้องการ​เพิ่มเ​สถียรภาพใ​ห้​แก่ร​ ะบบ​เศรษฐกิจ

       นัก​เศรษฐศาสตร์​คลาสสิก​ใหม่​จึง​สนับสนุน​ข้อ​เสนอ​ทาง​นโยบาย​ของ​ฟรี​ดมัน คือ ห้าม​มิ​ให้​ธนาคาร​กลาง​
ดำ�เนิน​นโยบาย​อย่าง​มี​อิสระ เพราะ​นโยบาย​อิสระ​มี​ลักษณะ​เป็น​นโยบาย​ที่​ภาค​เอกชน​ไม่​คาด​รู้​ล่วง​หน้า ซึ่ง​จะ​มี​ผล​
ไป​ทำ�ลาย​เสถียรภาพ​ของ​ระบบ​เศรษฐกิจ ฉะนั้น​จึง​ควร​กำ�หนด​ให้​ธนาคาร​กลาง​ทำ�​ตาม​กฎ​การ​เงิน​ที่​ตายตัว คือ “กฎ​
การ​เพิ่ม​ปริมาณ​เงินใ​น​อัตรา​คงที่” (The constant money growth rule) ซึ่ง​ทำ�ให้​ระบบ​เศรษฐกิจ​มีอ​ ัตรา​เงินเฟ้อ​ที่​
คงที่​ใน​ระยะย​ าว นัก​เศรษฐศาสตร์​คลาสสิกใ​หม่เ​ห็นว​ ่า หาก​ระบบ​เศรษฐกิจม​ ีอ​ ัตรา​เงินเฟ้อส​ มํ่าเสมอ ทั้ง​นายจ้าง​และ
​คน​งาน​ก็​จะ​คาด​รู้​ล่วง​หน้า​ระดับ​ราคา​ใน​อนาคต​ได้ ทำ�ให้​ทั้ง​การ​จ้าง​งาน​และ​ผลผลิต​ที่แท้​จริง​ไม่​ถูก​กระทบ​จาก​ปัจจัย​
เชิง​นโยบาย​ใน​ระยะ​สั้น และ​สามารถ​เติบโต​อย่าง​มี​เสถียรภาพ​ไป​ตาม​การ​พัฒนา​ของ​ภาค​การ​ผลิต ซึ่ง​ก็​คือ แนว​โน้ม​
การเ​พิ่มป​ ระสิทธิภาพข​ อง​แรงงาน​ใน​ระยะ​ยาว นั่นเอง

  กจิ กรรม 13.2.2
         สรุป​ทรรศนะข​ อง​เศรษฐศาสตรค​์ ลาสสิก​ใหม​ว่ า่ ด​ ้วยบ​ ทบาท​ของน​ โยบาย​รัฐบาล​ในร​ ะบบเ​ศรษฐกจิ

  แนวต​ อบ​กิจกรรม 13.2.2
         รัฐบาล​ไม่​ควร​เข้า​แทรกแซง​ระบบ​เศรษฐกิจ เพราะ​นโยบาย​ของ​รัฐบาล​ไม่มี​ประ​สิทธิ​ผล​ใดๆ ภาย​ใต้​

  สมมตฐิ านว​ า่ ด​ ว้ ยก​ ารค​ าดค​ ะเนท​ ส​่ี มเ​หตส​ุ มผ​ ล รฐั บาลค​ วรด​ �ำ เนนิ ต​ ามก​ ฎก​ ารเ​งนิ ท​ ต​่ี ายตวั ซงึ่ ส​ ง่ เ​สรมิ เ​สถยี รภาพ​
  ของร​ ะบบ​เศรษฐกจิ ใ​นร​ ะยะ​ยาว
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32