Page 32 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 32
13-22 ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจแ ละแ นวคิดทางเศรษฐศาสตร์
นักเศรษฐศาสตร์ที่สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐศาสตร์มหภาคบนฐานจุลภาคยืนยันว่า แบบจำ�ลองดังกล่าว
มีข้อได้เปรียบกว่าแบบจำ�ลองเคนส์เซียนดั้งเดิมคือ แบบจำ�ลองบนฐานจุลภาคมีความสอดคล้องต ้องกันทางตรรกะ
ภายใน มีความสอดคล้องกับพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของปัจเจกชนในระดับจุลภาค และสามารถทำ�นายผลกระทบ
ของก ารเปลี่ยนแปลงเชิงน โยบายต ่อแ นวโน้มต ัวแปรม หภาคท ีเ่กี่ยวข้อง ยิ่งก ว่าน ั้น เนื่องจากแ บบจ ำ�ลองถ ูกส ร้างข ึ้นบ น
พื้นฐ านข องแ บบแผนความพึงพ อใจของผ ู้บริโภคในระดับจ ุลภาค แบบจ ำ�ลองจ ึงส ามารถว ิเคราะห์ผ ลกร ะท บของก าร
เปลี่ยนนโยบายที่มีต่อส วัสดิการผู้บริโภค (Consumer welfare) ได้ตามแนวทางเศรษฐศาสตร์ส วัสดิการได้อีกด ้วย
อย่างไรก็ตาม แบบจำ�ลองเศรษฐกิจมหภาคบนฐานจุลภาคก็ถูกวิจารณ์จากนักเศรษฐศาสตร์เคนส์เซียนใน
หลายประการ เช่น การใช้ข ้อสมมติท ี่ไม่ส มจริง (การค าดคะเนแ บบส มเหตุส มผ ล ราคาส ินค้าแ ละค ่าจ้างย ืดหยุ่น) แบบ
จ�ำ ลองเศรษฐกิจบ นฐ านจ ุลภาคท สี่ รา้ งข ึน้ จ ากข อ้ มูลเชิงป ระจักษก์ ไ็ มไ่ ดใ้หค้ ำ�ทำ�นายแ นวโนม้ ต ัวแปรเศรษฐกจิ ท ีแ่ มน่ ย�ำ
ไปกว่าแบบจ ำ�ลองเคนส์เซียนด ั้งเดิมอย่างมีนัยส ำ�คัญ เป็นต้น
กิจกรรม 13.2.4
สรุปแนวคิด “การวิพากษ์ของลูคัส” และผลท่ีมีต่อการพัฒนาแบบจำ�ลองเศรษฐกิจมหภาคบนฐาน
จุลภาค
แนวตอบกจิ กรรม 13.2.4
“การวิพากษ์ของลูคัส” เห็นว่า แบบจำ�ลองเศรษฐกิจมหภาคแบบด้ังเดิมมีจุดบกพร่องท่ีมิได้รวมเอา
ผลกระทบของตัวแปรนโยบายที่มีต่อพฤติกรรมระดับจุลภาคของผู้บริโภคและหน่วยผลิตปัจเจกชน ทำ�ให้คำ�
ท�ำ นายผ ลกระท บข องน โยบายรัฐบาลต ่อร ะบบเศรษฐกิจผ ิดพลาดไป การวิพากษด์ ังกล่าวท ำ�ให้ม ีการพ ัฒนาแบบ
จ�ำ ลองเศรษฐกจิ ม หภาคโดยเรม่ิ จ ากก ารว เิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมร ะดบั จ ลุ ภาคข องผ บู้ รโิ ภคแ ละห นว่ ยผ ลติ ท ม่ี งุ่ แ สวงหา
ประโยชนส์ งู สดุ ภ ายใตง้ บป ระมาณจ �ำ กดั จากน น้ั จ งึ ป ระมวลข น้ึ เปน็ ต วั แปรร ะดบั ม หภาคในร ะบบเศรษฐกจิ จ �ำ ลอง
เพอื่ ใช้ทำ�นายผ ลกร ะทบข องนโยบายร ฐั บาลได้