Page 30 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 30
13-20 ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจแ ละแ นวคิดท างเศรษฐศาสตร์
เรอื่ งท ี่ 13.2.4
เศรษฐศาสตร์ม หภาคบ นฐ านจ ุลภาค
นับตั้งแต่ทศวรรษที่ 1990 สมมติฐานว่าด้วยการคาดคะเนแบบสมเหตุสมผลเริ่มเป็นที่ยอมรับกว้างขวาง
ยิ่งขึ้น และได้กลายเป็นพื้นฐานในการสร้างแบบจำ�ลองเศรษฐศาสตร์มหภาคสมัยใหม่บนพื้นฐานของเศรษฐศาสตร์
จุลภาค (Micro-foundation Macroeconomics)
ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาคแบบเคนส์เซียนก่อนทศวรรษ 1980 ใช้แบบจำ�ลองระบบเศรษฐกิจที่ประกอบ
ด้วย “ตัวแปรมวลรวมระดับมหภาค” เช่น การบริโภคเอกชนมวลรวม ซึ่งถูกกำ�หนดโดยระดับรายได้ที่ใช้จ่ายได้
การลงทุนเอกชนม วลรวมถูกกำ�หนดโดยระดับอัตราดอกเบี้ย เป็นต้น ส่วนคำ�อธิบายพ ฤติกรรมของตัวแปรมวลรวม
เหล่าน ีก้ อ็ าศัยท ฤษฎเีฉพาะท ีพ่ ัฒนาข ึ้นม ารอ งร ับ เช่น ความส ัมพันธเ์ชิงบ วกร ะหว่างก ารบ ริโภคเอกชนม วลชนก ับร ะดับ
รายไดท้ ีใ่ชจ้ ่ายได้ จะถ ูกอ ธิบายด ้วยท ฤษฎวี งจรช ีวติ (Life cycle) ทฤษฎรี ายไดส้ มั พัทธ์ (relative income) หรอื ท ฤษฎี
รายได้ถ าวร (permanent income) เป็นต้น แต่ไม่มีก ารพ ิจารณาถ ึงพ ฤติกรรมข องผ ู้บ ริโภคป ัจเจกช นในร ะดับจ ุลภาค
ว่า เหตุใดผ ู้บ ริโภคป ัจเจกช นจ ึงปรับเปลี่ยนระดับการบ ริโภคของต นไปต ามระดับร ายได้ที่ใช้จ่ายได้ข องตน
แนวทางด งั ก ลา่ วท แี่ ยกร ากฐานท ฤษฎเี ศรษฐศาสตรม์ หภาคอ อกจ ากท ฤษฎเี ศรษฐศาสตรจ์ ลุ ภาค เปน็ ท ยี่ อมรบั
มาตั้งแต่ส ิ้นสงครามโลกค รั้งที่สอง ในทศวรรษที่ 1960 และ 1970 ทฤษฎีเศรษฐศ าสตร์เคนส์เซียนได้ถูกพัฒนาข ึ้น
เป็นแบบจำ�ลองเศรษฐมิติมหภาค ที่ใช้สถิติข้อมูลตัวแปรมวลรวมเชิงประจักษ์ในอดีต มาทำ�การประมาณค่าตัวแปร
สัมประสิทธิ์ในแบบจ ำ�ลอง แล้วนำ�แบบจำ�ลองดังก ล่าวไปใช้ทำ�นายแ นวโน้มอ นาคตข องต ัวแปรมหภาค เพื่อป ระกอบ
การตัดสินใจเชิงน โยบายการเงินการค ลัง แบบจ ำ�ลองด ังกล่าวได้ร ับค วามนิยมอ ย่างม ากในระดับนโยบายมหภาค แต่
ในช ่วงป ลายท ว รรษท ี่ 1970 เมื่อร ะบบเศรษฐกิจส หรัฐอเมริกาแ ละย ุโรปเริ่มป ระสบป ัญหาเศรษฐกิจช ะงักง ันไปพ ร้อมๆ
กับการเกิดภาวะเงินเฟ้อหรือ Stagflation แบบจำ�ลองเศรษฐม ิติมหภาคด ังกล่าวก็เริ่มให้ค ำ�นายที่ผิดพ ลาด
ในป ี 1976 โรเบิร์ต ลูคัส (Robert Lucas) แห่งม หาวิทยาลัยชิคาโก ได้เสนอบ ทความ วิพากษ์แ นวทางก ารใช้
แบบจำ�ลองเศรษฐม ิติม หภาคด ังกล่าว เรียกว่า การว พิ ากษ ์ข องล ูคสั (The Lucas Critique) ลูคัสเสนอว ่า การทำ�นาย
ผลกระทบของนโยบายเศรษฐกิจใดๆ ด้วยแบบจำ�ลองเศรษฐมิติมหภาคขนาดใหญ่บนพื้นฐานของความสัมพันธ์
ระหว่างตัวแปรท ี่ได้จากการส ังเกต หรือประมาณการค ่าในอ ดีตน ั้น ไม่เหมาะส ม เพราะในค วามเป็นจริง ตัวแปรและ
ค ่าส มั ประสทิ ธิใ์ นแ บบจ �ำ ลองเหลา่ น ัน้ ไมเ่ ป็นอ สิ ระจ ากต วั แปรน โยบาย เมือ่ ร ฐั บาลห รือธ นาคารก ลางป รับเปลีย่ นต วั แปร
นโยบาย (เช่น อุปทานเงิน หรือก ารใช้จ่ายภาคร ัฐ) ตัวแปรและค ่าส ัมประสิทธิ์ในแ บบจำ�ลองจะเปลี่ยนไปด ้วย แต่แบบ
จำ�ลองที่ใช้อยู่ยังคงสมมติให้ตัวแปรและสัมประสิทธิ์เหล่านั้นมีค่าคงเดิมตามการประมาณค่าในอดีต ผลก็คือ แบบ
จำ�ลองให้คำ�ทำ�นายท ี่ผิดพลาด
นัยด ้านก ลับข อง “การว พิ ากษ ข์ องล ูคัส” กค็ ือ การส ร้างแ บบจ ำ�ลองเศรษฐกิจม หภาคท ีเ่หมาะส มเพื่อใชท้ ำ�นาย
ผลกร ะท บข องตัวแปรน โยบายนั้น จะต้องอ ยู่บ นพื้นฐ านของท ฤษฎีพฤติกรรมในร ะดับจ ุลภาคข องต ัวแปรท ี่เกี่ยวข้อง
เช่น พฤติกรรมจ ุลภาคของผ ู้บริโภคปัจเจกช นและผ ู้ลงทุนปัจเจกช น รวมทั้งค วามสัมพันธ์กับตัวแปรน โยบายที่มีต่อ
การตัดสินใจเชิงพฤติกรรมปัจเจกชนดังกล่าว นัยหนึ่ง แบบจำ�ลองมหภาคต้องมีพื้นฐานพฤติกรรมในระดับจุลภาค
แบบจำ�ลองด ังกล่าวจะสามารถทำ�นายผลกระทบของต ัวแปรนโยบายได้ดีกว่าเนื่องจากได้รวมเอาอ ิทธิพลของตัวแปร
นโยบายด ังก ล่าวไว้ในพฤติกรรมระดับจุลภาคของผู้บริโภคและผ ู้ล งทุนแ ล้ว