Page 33 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 33
แนวคิดเศรษฐศาสตร์ก ระแสหลักในปัจจุบัน 13-23
เร่อื งท ี่ 13.2.5
ทฤษฎวี ัฏจักรธ ุรกจิ จ ริง
นักเศรษฐศาสตร์ได้ส ังเกตม านานแล้วตั้งแต่ป ลายศตวรรษที่ 19 ว่า ระบบเศรษฐกิจมหภาคม ีแนวโน้มร ะยะ
ยาวเป็นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การเพิ่มรายได้แ ละผ ลผลิตในระยะยาว โดยม ีการจ้างง านเต็มท ี่ แต่ในร ะยะสั้น
กิจกรรมทางเศรษฐกิจมหภาค เช่น ผลผลิตม วลร วม การจ ้างง าน การบ ริโภค การล งทุน ระดับราคาและค่าจ ้าง เป็นต้น
มกี ารเบี่ยงเบนไปจ ากแ นวโน้มร ะยะย าวด ังก ล่าว โดยเคลื่อนไหวในล ักษณะเป็นว งร อบ จากภ าวะร ุ่งเรืองท ีผ่ ลผลิตแ ละ
การจ้างงานเพิ่มขึ้นสูงกว่าแนวโน้มระยะยาว ไปสู่ภาวะชะลอตัวหรือถดถอยที่ผลผลิตและการจ้างงานลดตํ่าลงกว่า
แนวโน้มระยะย าว การเคลื่อนไหวเป็นว งร อบด ังก ล่าวเรียกว ่า “วัฏจักรธุรกิจ” (Business cycles) จุดป ระสงค์สำ�คัญ
ประการห นึง่ ข องท ฤษฎเี ศรษฐศาสตรม์ หภาคค อื การอ ธบิ ายถ งึ ส าเหตขุ องว ฏั จกั รธ รุ กจิ และเสนอม าตรการท างน โยบาย
ที่จ ะขจัดหรือผ่อนเบาลักษณะว ัฏจักรด ังก ล่าว
ผลผลิตม วลร วม
ช่วงถ ดถอย
ช่วงรุ่งเรือง
การเจริญเติบโตระยะยาว
0 ระยะเวลา
ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์เคนส์เซียนในช่วงทศวรรษที่ 1960 และ 1970 เชื่อว่า วัฏจักรธุรกิจเกิดจ ากสภาวะขึ้น
ลงของอุปสงค์มวลรวม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สภาวะไร้เสถียรภาพของการลงทุนเอกชน ซึ่งได้รับอิทธิพลจากความ
ไม่แ น่นอนในภ าวะต ลาดแ ละก ารค าดค ะเนข องน ักล งทุน (Uncertainty and expectations) ข้อมูลเชิงป ระจักษแ์ สดง
ว่า การล งทุนเอกชนมีก ารเปลี่ยนแปลงขึ้นลงอย่างม ากเมื่อเทียบกับก ารกระเพื่อม ข ึ้นล งข องผ ลผลิตม วลรวม (วัดโดย
ผลิตภัณฑ์มวลร วมภายในประเทศ GDP) ทฤษฎีเศรษฐศ าสตร์เคนส์เซียนอ ธิบายว่า การล งทุนเอกชนท ี่ไร้เสถียรภาพ
เพิ่มแ ละล ดอ ย่างร วดเร็ว มผี ลท วีคูณท ำ�ใหก้ ารใชจ้ ่ายแ ละอ ุปสงคม์ วลร วมเพิ่มห รือล ดเป็นท วีคูณไปในท ิศทางเดียวกัน
ซึ่งมีผลต่อเนื่องไปยังด้านอุปทานของระบบเศรษฐกิจ ทำ�ให้การผลิต การจ้างงาน ระดับค่าจ้าง ผลิตภาพเฉลี่ยของ
แรงงาน กระเพื่อมข ึ้นลงเป็นวัฏจักรต ามไปด ้วย