Page 28 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 28

13-18 ประวัติศาสตร์เ​ศรษฐกิจแ​ ละแ​ นวคิดท​ างเ​ศรษฐศาสตร์

เร่อื งท​ ่ี 13.2.3
ขอ้ ว​ ิจารณ​ต์ อ่ เ​ศรษฐศาสตรค​์ ลาสสิกใ​หม่

       สมมติฐาน​ว่า​ด้วย​การ​คาด​คะเน​ที่​สม​เหตุ​สม​ผล​ได้​ส่ง​ผลก​ระ​ทบ​ต่อ​วงการ​เศรษฐศาสตร์​อย่าง​ลึก​ซึ้ง และ​ถูก
​นำ�​ไป​ประยุกต์​ใช้​ใน​กรณี​ศึกษา​ต่างๆ เป็น​จำ�นวน​มาก​ใน​ช่วง​ทศวรรษ 1980 จนถึง​กับ​ถูก​เรียก​ว่า เป็นการ​ปฏิวัติ​การ
ค​ าดค​ ะเนแ​ บบส​ มเ​หตสุ​ มผ​ ล (rational expectations revolution) ในข​ ณะท​ ีท่​ ฤษฎมี​ หภาคข​ องเ​ศรษฐศาสตรค์​ ลาสสิก​
ใหม่​ก็​แพร่​หลาย​ออก​ไป​อย่าง​รวดเร็ว​และ​ได้​รับ​การ​ยอมรับ​อย่าง​กว้าง​ขวาง โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ใน​นัก​เศรษฐศาสตร์​
รุ่นใ​หม่จ​ าก​มหาวิทยาลัย​ชิคาโกท​ ี่​ศึกษา​กับฟ​ รี​ดมัน ลูคัส และ​ซาร์​เจ้น

       อย่างไร​ก็ตาม นัก​เศรษฐ​ศาสตร์​เคน​ส์​เซียน​ได้​วิพากษ์​วิจารณ์​จุด​อ่อน​หลาย​ประการ​ใน​โครงสร้าง​ทฤษฎี​ของ​
เศรษฐศาสตร์ค​ ลาสสิกใ​หม่ โดย​เฉพาะอ​ ย่างย​ ิ่ง​คือ สมมติฐานว​ ่า​ด้วย​การค​ าดค​ ะเนแ​ บบส​ ม​เหตุ​สมผ​ ล

       ประการ​แรก สมมติฐาน​ว่า​ด้วย​การ​คาด​คะเน​แบบ​สม​เหตุ​สม​ผล​ยืน​อยู่​บน​ข้อ​สมมติ​ที่​ไม่​สอดคล้อง​กับ​ความ​
เป็น​จริง​คือ สมมติ​ให้​ปัจเจก​ชน​มีค​ วาม​รู้ถ​ ึง​พฤติกรรม​ของ​ตัวแปร​ทาง​เศรษฐกิจ ซึ่ง​เท่ากับ​สมมติ​ให้​ปัจเจก​ชน​มี​ความ​
รู้​ในแ​ บบ​จำ�ลอง​ทางเ​ศรษฐกิจอ​ ันซ​ ับ​ซ้อน เช่น รู้​ว่าห​ าก​ปริมาณ​เงินเ​พิ่ม​ขึ้น ระดับ​ราคา​สินค้าแ​ ละ​ค่าจ​ ้าง​ที่​เป็นต​ ัว​เงิน​ก็​
จะ​เพิ่มข​ ึ้น​ในอ​ ัตราใ​กล้​เคียงก​ ัน เป็นต้น การ​สมมติ​พฤติกรรม​ของ​ปัจเจกช​ น​ดัง​กล่าวจ​ ึงไ​ม่ส​ มจริง และจ​ ึง​มิใช่​พื้นฐ​ าน​
ของก​ าร​พัฒนา​ทฤษฎีท​ ี่​เหมาะส​ ม

       ประการท​ ส​ี่ อง นัก​เศรษฐศาสตร์​คลาสสิก​ใหม่ส​ มมติ​ให้ป​ ัจเจก​ชนแ​ สวงหา​และใ​ช้​ประโยชน์​จาก​ข่าวสาร​ข้อมูล​
ที่ม​ ีอ​ ยู่ท​ ั้งหมดอ​ ย่างม​ ีป​ ระสิทธิภาพแ​ ละอ​ ย่างช​ าญฉ​ ลาด แต่ใ​นค​ วามเ​ป็นจ​ ริงแ​ ล้ว การแ​ สวงหาข​ ่าวสารข​ ้อมูลจ​ ะม​ ีต​ ้นทุน​
ค่าใ​ช้จ​ ่ายเ​กิดข​ ึ้น ซึ่งห​ ากต​ ้นทุนด​ ังก​ ล่าวม​ ีส​ ูงม​ าก เช่น ต้องใ​ช้เ​วลาม​ ากใ​นก​ ารส​ ืบค้นข​ ้อมูล หรือข​ ้อมูลด​ ังก​ ล่าวต​ ้องหาซ​ ื้อ​
มาใ​นร​ าคาแ​ พง เปน็ ตน้ ปจั เจกช​ นก​ อ็​ าจไ​มส​่ ามารถใ​ชข้​ ้อมลู ท​ ีม​่ อ​ี ยูไ่​ดท้​ ัง้ หมด แตจ​่ ำ�​ต้องเ​ลอื กใ​ชเ้​พยี งบ​ างส​ ่วนเ​ทา่ นั้น ผล​
ก็ค​ ือ การต​ ัดสินใ​จจ​ ะ​อยู่บ​ นพ​ ื้น​ฐานข​ องข​ ้อมูลเ​พียงบ​ างส​ ่วน ทำ�ให้ก​ ารต​ ัดสินใ​จด​ ัง​กล่าวไ​ม่​เป็น​ไป​อย่างม​ ีป​ ระสิทธิภาพ​
และช​ าญ​ฉลาดท​ ี่สุด

       ประการ​ท่ี​สาม สมมติฐาน​ว่า​ด้วย​การ​คาด​คะเน​แบบ​สม​เหตุ​สม​ผล​อาจ​ใช้ได้​ดี​เฉพาะ​กับ​ผู้​วาง​นโยบาย​ใน​
รัฐบาล​และธ​ นาคารก​ ลางซ​ ึ่งม​ ีค​ วามส​ ามารถใ​นก​ ารร​ วบรวมข​ ้อมูลอ​ ย่างร​ อบด​ ้าน ตลอดจ​ นม​ ีง​ บป​ ระมาณแ​ ละท​ รัพยากร
​เพียง​พอ​ใน​การ​สร้าง​ฐาน​ข้อมูล ฉะนั้น การ​สมมติ​ให้​ปัจเจก​ชน​ทั่วไป​มี​ข้อมูล​และ​ความ​สามารถ​ใน​การ​วิเคราะห์​ข้อมูล​
เทียบ​เท่ากับผ​ ู้​วาง​นโยบาย​จึงข​ ัด​กับค​ วามเ​ป็น​จริง

       ประการ​ท่ี​ส่ี แบบ​จำ�ลอง​เศรษฐกิจ​ของ​นัก​เศรษฐศาสตร์​คลาสสิก​ใหม่​สมมติ​ให้​ทั้ง​ระดับ​ราคา​สินค้า​และ​
ระดับ​ค่า​จ้าง​ตัว​เงิน​มี​การ​ปรับ​ตัว​ได้​รวดเร็ว​ทัน​เหตุการณ์ สามารถ​เพิ่ม​ขึ้น​และ​ลด​ลง​ตาม​กลไก​ของ​ตลาด​ได้​ทัน​ท่วงที
ฉะนั้น​ปรากฏการณ์​นอกด​ ุลยภาพ เช่น การล​ ้น​เกิน การ​ขาดแคลน การ​ว่างง​ านโ​ดย​ไม่ส​ มัคร​ใจ จึงไ​ม่เ​กิด​ขึ้นห​ รือ​เกิด​
ขึ้น​เพียง​ชั่วข​ ณะ​เท่านั้น แต่​ใน​ความเ​ป็น​จริงแ​ ล้ว ค่า​จ้างต​ ัวเ​งิน​เป็นต​ ัวแปร​ที่ป​ รับ​ตัว​ยากแ​ ละ​ใช้​เวลา​นาน เพราะต​ ลาด​
แรงงานม​ ี​ลักษณะ​ไม่แ​ ข่งขัน เช่น อัตราค​ ่า​จ้างต​ ัวเ​งิน​มัก​ถูก​กำ�หนดด​ ้วยส​ ัญญา​จ้าง​งาน​ซึ่งม​ ีอายุห​ ลาย​ปี ทำ�ให้ก​ าร​ปรับ​
เปลี่ยน​อัตรา​ค่า​จ้าง​ทำ�ได้​ยาก​ใน​ระยะ​สั้น หรือ​อัตรา​ค่า​จ้าง​ถูก​กำ�หนด​จาก​อำ�นาจ​ผูกขาด​ของ​สหภาพแรงงาน​หรือ​ของ​
สมาคม​นายจ้าง เป็นต้น อัตรา​ค่าจ​ ้างต​ ัวเ​งินท​ ี่ไ​ม่ย​ ืดหยุ่น​นี้ท​ ำ�ให้​การจ​ ้าง​งานแ​ ละ​ผลผลิต​ที่แท้​จริง​ปรับ​ตัวช​ ้า ผลก​ ็ค​ ือ ใน
ร​ ะยะ​สั้น ระบบ​เศรษฐกิจอ​ าจ​มีอ​ ัตราก​ าร​ว่างง​ านส​ ูงก​ ว่าอ​ ัตราท​ ี่ค​ วรจ​ ะ​เป็นใ​น​ระยะย​ าว เป็นต้น
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33