Page 23 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 23
แนวคิดเศรษฐศาสตร์ก ระแสหลักในปัจจุบัน 13-13
แต่ย ังถ ูกก ำ�หนดโดยอัตราดอกเบี้ย ฉะนั้นปริมาณเงินจึงไม่มีค วามส ัมพันธ์ที่แ น่ชัดกับรายได้ประชาชาติท ี่เป็นตัวเงิน
ดังที่ฟรีด มันยืนยัน
ประการท ี่สอง การที่ฟรีดมันเชื่อว่า k เป็นค ่าคงที่ ซึ่งหมายความว่า อัตราก ารหมุนร อบข องเงิน (V) เป็นค่า
คงที่ด ้วย นั้น ไม่ได้ร ับก ารยืนยันจ ากประสบการณ์จริงในร ะยะหลัง โดยมีง านว ิจัยที่ช ี้ว ่า อัตราก ารหมุนร อบข องเงินน ับ
ตั้งแต่ป ี 1979 ถึงท ศวรรษ 1990 มีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงตลอดเวลาแ ม้ร ะยะสั้นเพียงปีต่อป ี นัยหนึ่ง ทฤษฎีป ริมาณ
เงินข องฟรีดมันไม่ได้ร ับการยืนยันจากข้อมูลเชิงประจักษ์ต ั้งแต่ทศวรรษ 1980
ประการสดุ ทา้ ย การปฏิเสธม ิให้รัฐบาลและธ นาคารกลางดำ�เนินนโยบายก ารค ลังแ ละก ารเงินแบบเชิงรุกเพื่อ
สร้างเสถียรภาพให้ระบบเศรษฐกิจ แต่กลับให้ธนาคารก ลางดำ�เนินตาม “กฎการเงิน” ที่ตายตัวนั้น เป็นข ้อเสนอท าง
นโยบายที่ไม่ยืดหยุ่นและไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงของระบบเศรษฐกิจ นักเศรษฐศาสตร์เคนส์เซียนยอมรับว่า
ระบบเศรษฐกิจภาคเอกชนมีความสามารถในการปรับตัวเองให้คืนสู่เสถียรภาพได้ในระยะยาวเมื่อถูกกระทบจาก
อิทธิพลภายนอก แต่นี่ม ิได้ห มายความว ่า รัฐบาลและธนาคารก ลางค วรจ ะนิ่งเฉยและป ล่อยให้ภ าคเอกชนปรับต ัวเอง
ไปตามธรรมชาติ ทั้งนี้เพราะว่า การปรับตัวเองของภาคเอกชนอาจใช้เวลายาวนานเกินไป โดยที่ภาวะว่างงานสูงหรือ
เงินเฟ้อส ูงท ีก่ ำ�ลังด ำ�เนินอ ยูอ่ าจก ่อผ ลเสียต ่อร ะบบเศรษฐกิจส ังคมไดม้ าก ฉะนั้นร ัฐบาลแ ละธ นาคารก ลางจ ึงค วรจ ะย ัง
มีบทบาทในการเสริมส ร้างเสถียรภาพในระยะสั้นข องร ะบบเศรษฐกิจมหภาคอ ยู่ต ่อไป เช่น เมื่อระบบเศรษฐกิจอ ยู่ใน
ภาวะถ ดถอยแ ละอ าจจ ะใช้เวลาย าวนานก ว่าท ี่จ ะฟ ื้นต ัวต ามธ รรมชาติ รัฐบาลก ส็ ามารถม ีบ ทบาทในก ารด ำ�เนินน โยบาย
การค ลังแ บบข ยายต ัวก ระตุ้นใหเ้ศรษฐกิจฟ ื้นต ัวเร็วข ึ้น ในข ณะท ีธ่ นาคารก ลางก ด็ ำ�เนินน โยบายก ารเงินแ บบผ ่อนค ลาย
ด้วยก ารเพิ่มป ริมาณเงินแ ละล ดอัตราดอกเบี้ยเพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายของเอกชน เป็นต้น
กจิ กรรม 13.1.4
สรุปขอ้ วิจารณ์ท่ีมีตอ่ แ นวคดิ การเงินน ิยม
แนวตอบกิจกรรม 13.1.4
ความต้องการถือเงินมีความสัมพันธ์กับอัตราดอกเบี้ย ในขณะท่ีสัมประสิทธิ์ k มีค่าไม่คงท่ี ทำ�ให้
สมการปริมาณเงินของฟรีดมันมีผลลัพธ์ไม่แน่นอน ตลอดจนข้อเสนอให้ใช้กฎการเงินแบบตายตัวเป็นนโยบาย
ที่ไม่ยืดหยุ่นและไม่สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจที่รัฐบาลอาจมีบทบาทช่วยให้ระบบเศรษฐกิจปรับตัวเข้าสู่จุด
ดลุ ยภาพได้เรว็ ข้ึน