Page 22 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 22

13-12 ประวัติศาสตร์เ​ศรษฐกิจแ​ ละแ​ นวคิดท​ าง​เศรษฐศาสตร์

	             M	        =	                                  Pk(rเพa)ิ่มP3Y%	 ต่อ​ปี + Y เพิ่ม 2% ต่อ​ปี
	  M เพิ่ม 5% ต่อป​ ี	  =	

       ฟรี​ดมัน​อธิบาย​ว่า การ​ดำ�เนิน​ตาม​กฎ​การ​เงิน​ที่​ตายตัว​เช่น​นี้ จะ​มี​ผล​ให้​ระบบ​เศรษฐกิจ​มี​อัตรา​เงินเฟ้อ​ที่​มี​
เสถียรภาพ (เช่น ร้อยล​ ะ 3 ต่อป​ ี) ซึ่งช​ ่วยล​ ดค​ วามไ​มแ่​ น่นอนใ​นร​ ะดับร​ าคาส​ ินค้า และเ​อื้ออ​ ำ�นวยใ​ห้ร​ ะบบเ​ศรษฐกิจภ​ าค​
เอกชนด​ �ำ เนนิ ไ​ปอ​ ยา่ งม​ เ​ี สถยี รภาพใ​นร​ ะยะย​ าว ทัง้ หมดน​ สี​้ อดคลอ้ งก​ บั ค​ วามเ​ชือ่ พ​ ืน้ ฐ​ านแ​ บบเ​สรนี ยิ มข​ องเ​ศรษฐศาสตร​์
คลาสสิกแ​ ละก​ ารเ​งินน​ ิยมท​ ีไ่​มต่​ ้องการใ​หร้​ ัฐบาลเ​ข้าแ​ ทรกแซงร​ ะบบเ​ศรษฐกิจโ​ดยตรง หากแ​ ตม่​ ีหน้าท​ ีเ่​พียงส​ ร้างส​ ภาพ​
แวดล้อม​ทางการ​เมือง กฎหมาย และ​โครงสร้าง​ทางการ​เงิน​อัน​เหมาะ​สม​ที่​เอื้อ​อำ�นวย​ให้​ภาค​เอกชน​ดำ�เนิน​ธุรกิจ​และ​
ขยายก​ ิจกรรมข​ องต​ นไ​ป​อย่างม​ ี​ประสิทธิภาพแ​ ละม​ ี​เสถียรภาพ​เท่านั้น

กิจกรรม 13.1.3
       อธิบาย​แนวคิดข​ องฟ​ รด​ี มันว​ า่ ด​ ว้ ยบ​ ทบาทข​ องน​ โยบายก​ ารเ​งนิ

แนวต​ อบ​กจิ กรรม 13.1.3
       เนอื่ งจากน​ โยบายก​ ารเ​งนิ ม​ อ​ี ทิ ธพิ ลส​ �ำ คญั ต​ อ่ ร​ ะดบั ร​ ายไ​ดป​้ ระชาชาตท​ิ แ่ี ทจ​้ รงิ ใ​นร​ ะยะส​ น้ั และภ​ าคเ​อกชน​

มเ​ี สถยี รภาพส​ งู ใ​นก​ ารป​ รบั ต​ วั เ​ขา้ ส​ ด​ู่ ลุ ยภาพ นโยบายก​ ารเ​งนิ เ​ชงิ ร​ กุ ขอ​ งธ​ นาคารก​ ลางท​ ม​ี่ งุ่ แ​ กป​้ ญั หาเ​ศรษฐกจิ ก​ ลบั ​
จะ​ทำ�ให้​ระบบ​เศรษฐกิจ​ไม่มี​เสถียรภาพ ฉะน้ัน​ธนาคาร​กลาง​ควร​ดำ�เนิน​ตาม​กฎ​การ​เงิน​ท่ี​ตายตัว เช่น การ​เพ่ิม​
ปรมิ าณ​เงินใ​น​อตั รา​คงท่ี เพอ่ื ใ​หร​้ ะดบั ร​ าคา​ใน​ระบบ​เศรษฐกิจ​มเี​สถียรภาพ

เรือ่ งท​ ี่ 13.1.4
ข้อ​วิจารณ์​ต่อแ​ นวคดิ ​การ​เงินน​ ิยม

       คุณูปการ​ของ​แนวคิด​การ​เงิน​นิยม​ที่ส​ ำ�คัญ​คือ กระตุ้น​ให้น​ ัก​เศรษฐศาสตร์​มหภาค​หัน​มาใ​ห้ค​ วาม​สนใจ​อย่าง​
จริงจัง​ต่อ​บทบาท​ของ​ปริมาณ​เงิน​ใน​ระบบ​เศรษฐกิจ ตลอด​จน​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​ปริมาณ​เงิน​กับ​ราย​ได้​ประชาชาติ​
ที่​เป็น​ตัว​เงิน ใน​ที่สุด​นัก​เศรษฐ​ศาสตร์​เคน​ส์​เซียน​ได้​หัน​มาย​อม​รับ​ว่า ปริมาณ​เงิน​และ​การ​ดำ�เนิน​นโยบาย​การ​เงิน​ของ​
ธนาคาร​กลาง​มี​ผลก​ระ​ทบ​ที่​สำ�คัญ​ต่อ​ระดับ​ราคา ผลผลิต และ​การ​จ้าง​งาน เฉก​เช่น​เดียว​กับ​การ​ดำ�เนิน​นโยบาย​การ​
คลังโ​ดย​รัฐบาล

       อย่างไร​ก็ตาม นัก​เศรษฐ​ศาสตร์​เคน​ส์​เซียน​กับ​นัก​เศรษฐศาสตร์​การ​เงิน​นิยม​ก็​ยัง​คง​ถก​เถียง​และ​มี​ข้อ​สรุป​
แตกต​ ่างก​ ันท​ ั้งใ​นเ​ชิง​ทฤษฎีแ​ ละ​นโยบาย​หลายป​ ระการ

       ประการ​แรก ข้อคิด​และ​งาน​วิจัย​ของ​ฟรี​ดมัน​ที่​ชี้​ว่า ความ​ต้องการ​ถือ​เงิน​มี​ความ​สัมพันธ์​กับ​อัตรา​ดอกเบี้ย​
ไม่​มาก ยัง​ไม่​เป็น​ที่​ยอมรับข​ องน​ ักเ​ศรษฐศ​ าสตร์​เคนส​ ์เ​ซียน งาน​วิจัยอ​ ีก​จำ�นวน​มากย​ ัง​คงช​ ี้ว​ ่า ความ​ต้องการถ​ ือ​เงิน​มี​
ความ​สัมพันธ์​ที่ม​ ี​นัยส​ ำ�คัญ​กับ​อัตราด​ อกเบี้ยอ​ ยู่ นัยห​ นึ่ง ค่า k ใน​สมการแ​ ลก​เปลี่ยน 13.8 ของ​ฟรีด​ มันไ​ม่ใช่ค​ ่าค​ งที่
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27