Page 18 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 18
13-8 ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจแ ละแ นวคิดทางเศรษฐศาสตร์
MV = PY ..........(13.2)
โดยที่ M คือป ริมาณเงินในร ะบบเศรษฐกิจ
V คืออ ัตราก ารห มุนร อบของเงิน
P คือร ะดับร าคาส ินค้า
Y คือปริมาณส ินค้าบริการที่ผ ลิตขึ้นใหม่
ทั้งสมการ (13.1) และ (13.2) ล้วนเป็นเอกลักษณ์ (Identities) คือเป็นจ ริงอ ยู่เสมอ แต่นักทฤษฎีปริมาณเงิน
ไดพ้ ัฒนาเอกลักษณด์ ังก ล่าวใหก้ ลายเป็นท ฤษฎดี ้วยก ารก ำ�หนดใหต้ ัวแปรบ างต ัวเป็นต ัวแปรอ ิสระ และต ัวแปรอ ื่นเป็น
ตัวแปรต าม ก่อนอื่น นักทฤษฎีปริมาณเงินสมมติว ่า V และ Y เป็นอ ิสระจ ากป ริมาณเงิน M แต่ถ ูกก ำ�หนดจ ากป ัจจัย
อื่นๆ นอกสมการ นัยหนึ่ง อัตราการหมุนร อบของเงิน V ถูกกำ�หนดโดยความเคยชินข องผู้คนในก ารใช้เงินต รา ระดับ
พัฒนาของสถาบันการเงิน และปัจจัยเชิงสถาบันอื่นๆ ในขณะที่ปริมาณสินค้าบริการ Y ถูกกำ�หนดจากภาคการผลิต
และการจ้างง านในระบบเศรษฐกิจ ฉะนั้นตัวแปร V และ Y จึงถ ูกสมมติให้เป็นค ่าค งที่ในสมการ จากน ั้น นักท ฤษฎี
ปริมาณเงินย ืนยันว ่า ระหว่างปริมาณเงิน M และร ะดับร าคาสินค้า P นั้น ปริมาณเงินเป็นต ัวแปรอิสระ และร าคาสินค้า
เป็นตัวแปรตาม หากปริมาณเงินเพิ่มขึ้น ราคาสินค้าจะสูงขึ้น หรือหากปริมาณเงินลดลง ราคาสินค้าก็จะลดลงด้วย
ยิ่งกว่านั้นคือ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเงินกับราคาสินค้ามีลักษณะสัดส่วนคงที่ในระยะยาว เช่น หากปริมาณ
เงินเพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ราคาส ินค้าก็จะต ้องส ูงขึ้นร ้อยละ 10 เท่าก ัน
ทฤษฎีปริมาณเงินนอกจากจะพัฒนาในรูปของสมการแลกเปลี่ยน (13.1) และ (13.2) แล้ว ก็ยังได้รับการ
พัฒนาในกรอบของทฤษฎีอุปทานเงินและความต้องการถือเงิน (money supply and money demand) โดย
นักเศรษฐศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ช่วงต้นศตวรรษที่ 20 คือ อัลเฟรด มาร์แชล (Alfred Marshall) และ
อาร์เธอร ์ พิก ู (Arthur C. Pigou) นักท ฤษฎีกลุ่มนี้เริ่มต้นจ ากสมการค วามต้องการถ ือเงิน โดยส มมติว ่า ปริมาณเงิน
ที่ต ้องการถ ือไว้เป็นสัดส่วนตายตัวต ่อรายได้ต ัวเงิน ดังนี้
Md = k P Y ..........(13.3)
โดยที่ Md คือความต้องการถือเงิน
P คือระดับร าคาส ินค้า
Y คือร ายได้ที่แ ท้จริง
k คืออัตราส่วนป ริมาณเงินท ี่ถือต ่อรายได้ตัวเงิน ซึ่งมีค่าค งที่ในร ะยะสั้น
ส่วนอ ุปทานเงินน ั้น ถือว่า ถูกกำ�หนดจ ากป ัจจัยภายน อก อื่นๆ (exogeneous) ฉะนั้น ณ ดุลยภาพซ ึ่งค วาม
ต้องการถ ือเงิน (Md) เท่ากับอ ุปทานเงิน (M) จะได้ความสัมพันธ์ด ังต ่อไปนี้
M = Md = k P Y ..........(13.4)
หรือ
M (1/k) = PY ..........(13.5)