Page 15 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 15

แนวคิดเ​ศรษฐศาสตร์​กระแสห​ ลัก​ในป​ ัจจุบัน 13-5

เร่อื งท​ ี่ 13.1.1
บทบาท​ของป​ ริมาณเ​งิน​ใน​ทฤษฎเ​ี ศรษฐศาสตรก​์ ่อนเ​คนส​ ์

       โดยท​ ัว่ ไปแ​ ลว้ ปริมาณเ​งิน (the quantity of money) ในร​ ะบบเ​ศรษฐกจิ ห​ รอื “อปุ ทานเ​งิน” (money supply)
ไม่มี​บทบาทส​ ำ�คัญม​ ากน​ ัก​ใน​ทฤษฎีเ​ศรษฐศาสตร์​ก่อน​เคนส​ ์ อย่างไร​ก็ตาม เป็นท​ ี่​เข้าใจ​กันใ​น​หมู่​นักเ​ศรษฐศาสตร์ย​ ุค​
นั้นว​ ่า ปริมาณ​เงินม​ ี​ความ​สัมพันธ์โ​ดยตรงก​ ับร​ ะดับร​ าคา​ในร​ ะบบเ​ศรษฐกิจ และ​ไม่มีอ​ ิทธิพล​ต่อ​ผลผลิต​ที่แท้​จริง​หรือ​
ภาคก​ ารผ​ ลิตแ​ ต่อ​ ย่าง​ใด นัยห​ นึ่ง การเ​ปลี่ยนแปลง​ปริมาณ​เงินม​ ีผ​ ลเ​พียง​เป็นการเ​ปลี่ยนแปลงร​ ะดับร​ าคาไ​ปใ​นท​ ิศทาง​
เดียวกัน เช่น หากม​ ีป​ ริมาณ​เงินเ​พิ่ม​ขึ้น ราคาส​ ินค้าใ​นร​ ะบบ​เศรษฐกิจก​ ็​จะ​สูงข​ ึ้น โดยป​ ริมาณ​ผลผลิตท​ ี่แท้​จริงแ​ ละก​ าร​
จ้าง​งาน​ไม่​เปลี่ยนแปลง ส่วน​การ​เพิ่ม​ขึ้น​ของ​ผลผลิต​ที่แท้​จริง​และ​ความ​มั่งคั่ง​นั้น​เป็น​ผล​มา​จาก​การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​
ปัจจัยต​ ่างๆ ใน​ภาค​การผ​ ลิต เช่น การ​พัฒนาเ​ทคโนโลยี การเ​พิ่ม​ผลิต​ภาพข​ อง​แรงงาน การ​ค้นพ​ บแ​ หล่งท​ รัพยากรใ​หม่
เป็นต้น

       ข้อคิด​ดัง​กล่าว​ส่วน​หนึ่งเ​ป็นผ​ ล​มาจ​ ากส​ ิ่ง​แวดล้อมท​ างส​ ถาบัน คือ ระบบก​ าร​เงิน​ก่อน​สงครามโลก​ครั้งท​ ี่​หนึ่ง​
เป็น​ระบบ​มาตรฐาน​ทองคำ� ซึ่ง​ธนบัตร​จะ​ต้อง​มี​ทองคำ�​ใน​ปริมาณ​ที่​แน่นอน​หนุน​หลัง​อยู่ ภาย​ใต้​ระบบ​นี้ รัฐบาล​หรือ​
ธนาคาร​กลาง​จะ​ไม่มี​อำ�นาจ​ใน​การ​แทรกแซง​ปริมาณ​เงิน และ​ระดับ​ราคา​ใน​ระบบ​เศรษฐกิจ​ค่อน​ข้าง​มี​เสถียรภาพ​ใน​
ระยะย​ าว ไม่มีป​ รากฏการณ์​เงินเฟ้อส​ ูง ยกเว้นใ​น​ช่วงว​ ิกฤต เช่น สงครามห​ รือภ​ ัย​ธรรมชาติ

       อยา่ งไรก​ ต็ าม นกั เ​ศรษฐศาสตรใ​์ นช​ ว่ งต​ น้ ศ​ ตวรรษท​ ี่ 20 ไดค​้ อ่ ยๆ พฒั นาแ​ นวคดิ ท​ ฤษฎท​ี พี​่ ยายามอ​ ธบิ ายค​ วาม​
สัมพันธ์ร​ ะหว่างป​ ริมาณเ​งินก​ ับร​ ะดับร​ าคาอ​ ย่างเ​ป็นร​ ะบบม​ ากข​ ึ้น เรียกว​ ่า ทฤษฎีป​ ริมาณเ​งิน (The Quantity Theory
of Money) แม้​แต่​เคน​ส์​ก็ได้​พัฒนา​แบบ​จำ�ลอง​เศรษฐศาสตร์​มหภาค​โดย​อาศัย​แนวคิด​ของ​ทฤษฎี​ปริมาณ​เงิน​เป็น
อ​ งค์ป​ ระกอบส​ ำ�คัญใ​นห​ นังสือเ​รื่อง A Treatise on Money ปี 1930 ก่อนท​ ี่เ​คนส​ ์จ​ ะล​ ะทิ้งท​ ฤษฎีป​ ริมาณเ​งินแ​ ละห​ ันม​ า​
พัฒนาท​ ฤษฎี​ใหม่ใ​นห​ นังสือ The General Theory of Employment, Interest and Money ซึ่งพ​ ิมพ์​ในป​ ี 1936

       การ​พัฒนา​ทฤษฎี​ปริมาณ​เงิน​ได้​สะดุด​หยุด​ลง​แทบ​จะ​สิ้น​เชิง​นับ​แต่​หลัง​สงครามโลก​ครั้ง​ที่​สอง นัก​
เศรษฐศาสตรไ์​ด้ห​ ันม​ าพ​ ัฒนาแ​ นวค​ วามค​ ิดข​ องเ​คนส​ ์ข​ ึ้นเ​ป็น ทฤษฎีเ​ศรษฐศาสตร์ม​ หภาคใ​นช​ ่วงท​ ศวรรษท​ ี่ 1950 และ
1960 และ​นำ�​เอา​ทฤษฎี​ใหม่ม​ าป​ ระยุกต์​ใช้ก​ ับป​ ัญหา​เชิง​นโยบาย​เพื่อป​ ้องกัน​มิใ​ห้​เกิดภ​ าวะ​ตกตํ่า​ทาง​เศรษฐกิจ​อีก นัก​
เศรษฐศาสตร์ม​ หภาคใ​นช​ ่วงน​ ี้ป​ ฏิเสธท​ ฤษฎีป​ ริมาณเ​งินย​ ุคก​ ่อนเ​คนส​ ์ และใ​ห้ค​ วามส​ ำ�คัญน​ ้อยม​ ากต​ ่อป​ ริมาณเ​งินห​ รือ​
อุปทานเ​งิน ฉะนั้นน​ โยบายก​ ารเ​งิน​จึงแ​ ทบจ​ ะ​ไม่มี​บทบาท​เลย​ใน​ทฤษฎีม​ หภาคย​ ุคน​ ั้น ทั้ง​นัก​เศรษฐศาสตร์แ​ ละน​ ักการ​
เมืองห​ ันม​ าใ​หค้​ วามส​ ำ�คัญก​ ับน​ โยบายก​ ารค​ ลังค​ ือ ใชร้​ ายจ​ ่ายข​ องร​ ัฐบาลแ​ ละก​ ารจ​ ัดเ​ก็บภ​ าษเี​ป็นเ​ครื่องม​ ือส​ ำ�คัญใ​นก​ าร​
รักษา​ระดับก​ ารจ​ ้างง​ านเ​ต็มท​ ี่ใ​นร​ ะบบเ​ศรษฐกิจ

       อยา่ งไรก​ ต็ าม ในส​ หรฐั อเมรกิ าก​ ารด​ �ำ เนนิ น​ โยบายก​ ารค​ ลงั แ​ บบข​ าดด​ ลุ คอื เ​พิม่ ร​ ายจ​ า่ ยร​ ฐั บาลแ​ ละล​ ดภ​ าษี เพือ่ ​
รักษาร​ ะดับ​การ​จ้าง​งานเ​ต็ม​ที่​เป็น​เวลา​ยาวนาน ประกอบ​กับ​ราย​จ่ายใ​น​สงคราม​เวียดนามแ​ ละ​การ​ขาด​ดุล​งบ​ประมาณ​
จำ�นวน​มหาศาล​ของ​รัฐบาล​สหรัฐอเมริกา​ใน​ช่วง​ทศวรรษ 1960 และ​ต้น​ทศวรรษ 1970 ทำ�ให้​ปริมาณ​เงิน​ใน​ระบบ​
เศรษฐกิจเ​พิ่มข​ ึ้นใ​นอ​ ัตราส​ ูงอ​ ย่างต​ ่อเ​นื่อง ผลก​ ็ค​ ือ เกิดภ​ าวะเ​งินเฟ้อส​ ูงแ​ ละเ​รื้อรัง สถานการณ์ย​ ิ่งเ​ลวร​ ้ายล​ งเ​มื่อร​ ะบบ​
เศรษฐกิจถ​ ูกซ​ ํ้าเ​ติมด​ ้วยว​ ิกฤตการณร์​ าคาน​ ํ้ามันใ​นป​ ลายท​ ศวรรษ 1970 ต่อต​ ้นท​ ศวรรษ 1980 เกิดป​ ัญหาท​ ั้งเ​งินเฟ้อส​ ูง​
และอ​ ัตรา​ว่างง​ านส​ ูง​พร้อม​กัน ซึ่ง​เรียกว​ ่า Stagflation
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20