Page 19 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 19
แนวคิดเศรษฐศาสตร์กระแสหลักในป ัจจุบัน 13-9
สมการ (13.4) เรียกว่า สมก ารเคมบ ริดจ์ (The Cambridge Equation) โดยที่สัมประสิทธิ์ 1/k ในสมการ
(13.5) มีค ่าเท่ากับ V ในส มการ (13.2) ท้ายส ุด นักเศรษฐศ าสตร์เคมบ ริดจ์ส มมติให้ร ายได้ที่แ ท้จริงถ ูกก ำ�หนดจ ากภ าค
การผลิตและก ารจ ้างงาน ในข ณะที่ส ัมประสิทธิ์ k มีค ่าค งที่ ฉะนั้น ปริมาณเงิน M จึงก ำ�หนดระดับร าคาส ินค้า P และ
ความส ัมพันธ์ด ังกล่าวมีลักษณะส ัดส่วนค งที่เช่นเดียวก ับสมการแ ลกเปลี่ยนของฟิชเชอร์
สมการเคมบริดจ์ (13.5) มีความก้าวหน้ากว่าสมการฟิชเชอร์ (13.2) เพราะสมการเคมบริดจ์พุ่งความสนใจ
ไปที่ความต ้องการถ ือเงินในร ะบบเศรษฐกิจเทียบกับป ริมาณเงินท ี่มีอ ยู่ และกลายเป็นต้นแ บบให้เคนส ์นำ�ไปดัดแปลง
เป็นท ฤษฎีความต ้องการถือเงินภ ายในกรอบทฤษฎีมหภาคของตนอีกด ้วย นอกจากนี้ สมการ (13.5) ยังให้ค ำ�ตอบต ่อ
คำ�ถามท ี่ว ่า การเปลี่ยนป ริมาณเงินส ่งผ ลให้เกิดการเปลี่ยนราคาสินค้าได้อ ย่างไร อีกด ้วย
สมการ (13.4) ชี้ว ่า ณ ดุลยภาพ ประชาชนม ีร ะดับก ารถ ือเงินท ีเ่หมาะส มเมื่อเทียบก ับร ะดับร ายไดแ้ ละร ายจ ่าย
ที่เป็นตัวเงินข องตน หากปริมาณเงินเพิ่มขึ้นสองเท่า ประชาชนจ ะม ีเงินล ้นเกินอ ยู่ในม ือเมื่อเทียบกับระดับรายได้และ
รายจ่ายเดิม เงินล้นเกินก็จะถูกใช้จ ่ายในก ารบ ริโภคแ ละลงทุนการผลิต นัยห นึ่ง เงินล้นเกินจะถ ูกใช้ซื้อส ินค้าบริโภค
หรือส ินค้าท ุน ทำ�ให้อุปสงค์ต ่อส ินค้าในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ราคาส ินค้าท ั้งระบบสูงข ึ้น เงินล้นเกินจ ะถ ูก
ใช้จ่ายจนกระทั่งราคาส ินค้าแ ละรายได้ที่เป็นตัวเงินสูงขึ้นส องเท่า เมื่อถึงจ ุดดุลยภาพใหม่ ทั้งปริมาณเงินท ี่ถ ืออ ยู่แ ละ
รายได้ที่เป็นตัวเงินก็จะเป็นส องเท่าของดุลยภาพเดิม
กิจกรรม 13.1.2
อธบิ ายค วามห มายข องสมการเคมบรดิ จ์
แนวต อบก จิ กรรม 13.1.2
ในด ลุ ยภาพร ะหวา่ งอ ปุ ทานเงนิ แ ละค วามต อ้ งการถ อื เงนิ ปรมิ าณเงนิ ในร ะบบเศรษฐกจิ จ ะก �ำ หนดร ะดบั
ราคาส นิ คา้ โดยม คี วามส ัมพนั ธ์ในทางบ วกเป็นส ดั สว่ นค งที่