Page 24 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 24
13-14 ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจแ ละแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
ตอนท่ี 13.2
เศรษฐศาสตร์คลาสสกิ ใหม่
โปรดอ ่านหัวเรื่อง แนวคิด และวัตถุประสงค์ข องตอนที่ 13.2 แล้วจ ึงศ ึกษาร ายละเอียดต่อไป
หวั เรอ่ื ง
13.2.1 สมมติฐานว ่าด ้วยก ารคาดคะเนท ี่ส มเหตุสมผ ล
13.2.2 ทฤษฎีแ ละน โยบายของเศรษฐศาสตร์ค ลาสสิกใหม่
13.2.3 ข้อวิจารณ์ต่อเศรษฐศาสตร์คลาสสิกใหม่
13.2.4 เศรษฐศาสตร์มหภาคบนฐานจ ุลภาค
13.2.5 ทฤษฎีว ัฏจักรธุรกิจจ ริง
แนวคดิ
1. เศรษฐศาสตร์เคนส์เซียนและแนวคิดการเงินนิยมใช้สมมติฐานว่าด้วยการคาดคะเนแบบปรับตัว
ซึ่งมีน ัยว่า คนงานอาจมีพ ฤติกรรมท ี่ไม่ส มเหตุส มผลแ ละก ระทำ�ผิดพลาดซ ํ้ารอยเดิมได้
2. เศรษฐศาสตร์ค ลาสสิกใหม่ใช้สมมติฐานว่าด้วยการคาดคะเนที่สมเหตุสมผลซึ่งสมมติว่า คนงาน
ใช้ข ่าวสารข ้อมูลทุกด้านเท่าที่ม ีอยู่เพื่อการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพส ูงสุด ทำ�ให้ไม่มีก ารกร ะท ำ�ที่
ผิดพลาดซํ้ารอยเดิม
3. ส มมติฐานว ่าด ้วยก ารค าดค ะเนท ี่ส มเหตุส มผ ลม ีน ัยว่า นโยบายข องร ัฐบาลท ี่ก ระทำ�อย่างเป็นร ะบบ
และซ ํ้าร อยเดิมจ ะไม่มีป ระสิทธิผลเพราะป ัจเจกชนจ ะม ีก ารป รับต ัวล ่วงห น้าแ ละร วดเร็ว ซึ่งม ีผ ลไป
ลบล้างผ ลข องน โยบายข องร ัฐบาลในท ี่สุด
4. เศรษฐศาสตร์ม หภาคบ นฐ านจ ุลภาคว ิเคราะห์ร ะบบเศรษฐกิจจ ากพ ฤติกรรมก ารต ัดสินใจแ สวงหา
ประโยชน์สูงสุดในระดับจุลภาคของผู้บริโภคปัจเจกชนและหน่วยผลิตปัจเจกชนที่ตอบสนองต่อ
ตัวแปรน โยบายข องรัฐบาลและธ นาคารก ลาง
5. ท ฤษฎีวัฏจักรธุรกิจจริงใช้กรอบของเศรษฐศาสตร์มหภาคบนฐานจุลภาคมาอธิบายแนวโน้มขึ้น
ลงระยะสั้นของระบบเศรษฐกิจที่เบี่ยงเบนไปจากดุลยภาพระยะยาวว่า มีสาเหตุมาจาก “ช็อก
ผลิตภาพ” ทั้งทางบ วกแ ละทางล บ
วัตถปุ ระสงค์
เมื่อศ ึกษาตอนท ี่ 13.2 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. อธิบายส มมติฐานว่าด้วยก ารค าดคะเนที่ส มเหตุส มผลได้
2. อธิบายทฤษฎีแ ละแ นวนโยบายของเศรษฐศาสตร์คลาสสิกใหม่ได้
3. อธิบายข ้อว ิจารณ์ต ่อเศรษฐศาสตร์ค ลาสสิกใหม่ได้
4. อธิบายเค้าโครงของเศรษฐศาสตร์มหภาคบนฐ านจ ุลภาคได้
5. อธิบายเค้าโครงท ฤษฎีวัฏจักรธุรกิจจ ริงได้