Page 29 - ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ และแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
P. 29
แนวคิดเศรษฐศาสตร์ก ระแสห ลักในปัจจุบัน 13-19
ประการสุดท้าย ในเมื่อปัจเจกชนมิได้ใช้ข้อมูลที่มีอยู่ทั้งหมดอย่างมีประสิทธิภาพในขณะที่ผู้วางนโยบาย
มีความได้เปรียบกว่า ตลอดจนตลาดแรงงานมีลักษณะไม่สมบูรณ์ดังกล่าว ดังนั้น ระบบเศรษฐกิจจึงอาจมีภาวะ
ไร้เสถียรภาพจากผลกระทบที่คาดคะเนล่วงหน้าไม่ได้นั่นเอง ในภาวะเช่นนี้ ทั้งรัฐบาลและธนาคารกลางจึงยังคงมี
บทบาทในการดำ�เนินนโยบายการเงินการคลังเพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพในระยะสั้นแก่ระบบเศรษฐกิจ เพื่อช่วยให้
ระบบสามารถป รับตัวเข้าสู่ดุลยภาพร ะยะย าวได้เร็วข ึ้น
นักเศรษฐศาสตร์ค ลาสสิกใหม่ยอมรับว่า สมมติฐานว ่าด ้วยการค าดค ะเนแ บบส มเหตุส มผ ล เป็นข้อส มมติท ี่
ไม่สมจริงในโลก แต่ก็โต้แย้งว่า แบบจำ�ลองเศรษฐศาสตร์ทุกแบบจำ�ลองล้วนไม่สมจริงทั้งสิ้น เพราะแบบจำ�ลอง
ต้องใช้ข้อสมมติต่างๆ ที่ลดทอนโลกความจริงที่ซับซ้อน ลงมาเป็นแบบจำ�ลองอย่างง่ายที่มีตัวแปรสำ�คัญเพียงไม่กี่
ตัวแปร แม้แต่ส มมติฐานว ่าด้วยการคาดคะเนแบบมองไปข้างหลังห รือแ บบป รับต ัว (Backward-looking, adaptive
expectations hypothesis) ของเศรษฐศ าสตร์เคนส ์เซียนก ็ไม่ส มจริงเช่นกัน เนื่องจากสมมติให้ค นง านท ำ�นายระดับ
ราคาที่แท้จ ริงในป ัจจุบันโดยพ ิจารณาแ ต่ข ้อมูลร าคาในอดีตเท่านั้น
นักเศรษฐศาสตร์คลาสสิกใหม่ยืนยันว่า ทฤษฎีหรือแบบจำ�ลองใดจะมีประโยชน์กว่ากันจึงมิใช่ตัดสินจาก
“ความสมจริง” ของข้อสมมติในทฤษฎีหรือแบบจำ�ลองนั้นๆ หากแต่ต้องพิจารณาจากความสอดคล้องต้องกันทาง
ตรรกะ ความส อดคล้องก ับพ ฤติกรรมพ ื้นฐ านข องป ัจเจกช น และค วามส ามารถในก ารท ำ�นายค ่าตัวแ ปรข องแ บบจ ำ�ลอง
ซึ่งในประเด็นเหล่านี้ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์คลาสสิกใหม่มีความเหนือกว่า เนื่องจากสมมติฐานว่าด้วยการคาดคะเน
แบบสมเหตุสมผลมีความสอดคล้องต้องกันทางตรรกะ สอดคล้องกับพฤติกรรมพื้นฐานของปัจเจกชนที่มุ่งแสวงหา
อรรถประโยชน์ส ูงสุด และย ังส ามารถให้คำ�ทำ�นายค่าตัวแปรท างเศรษฐกิจในร ะยะย าวได้ด ีกว่า
ในส่วนข้อวิจารณ์ของนักเศรษฐศาสตร์เคนส์เซียนที่ว่า ตลาดแรงงานมีลักษณะไม่แข่งขัน ระดับค่าจ้าง
ตัวเงินเป็นตัวแปรที่ปรับตัวยากและใช้เวลานานเนื่องจากสัญญาจ้างงานที่ยาวนานกว่าหนึ่งปีหรือจากอำ�นาจผูกขาด
ของสหภาพแรงงานนั้น นักเศรษฐศาสตร์คลาสสิกใหม่โต้แย้งว่า แม้สัญญาจ้างงานระยะยาวและอำ�นาจผูกขาดของ
สหภาพแรงงานจะมีอยู่จริง และอาจเป็นอุปสรรคต่อการปรับอัตราค่าจ้างตัวเงิน แต่ก็ไม่ได้มีผลมากถึงกับทำ�ให้ค่า
จ้างตัวเงินมีการปรับตัวช้าจนก่อให้เกิดการว่างงงานโดยไม่สมัครใจจำ�นวนมากดังที่ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์เคนส์เซียน
กล่าวอ้าง เพราะถึงอย่างไร ทั้งนายจ้างและลูกจ้าง รวมทั้งสหภาพแรงงาน ยังมีความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยน
รายล ะเอียดของการจ ้างง านอื่นๆ เช่น จำ�นวนช ั่วโมงทำ�งาน ผลประโยชน์ส วัสดิการท ี่ได้ร ับ ไปจ นถึงอาจย ินยอมให้ม ี
การปรับร ะดับค ่าจ้างตัวเงินได้
กจิ กรรม 13.2.3
สรุปข อ้ ว ิจารณ์ตอ่ ส มมตฐิ านว่าด้วยการค าดคะเนท สี่ มเหตสุ มผ ลข องเศรษฐศาสตรค์ ลาสสกิ ใหม่
แนวต อบก จิ กรรม 13.2.3
สมมตฐิ านว า่ ด ว้ ยก ารค าดค ะเนท สี่ มเหตสุ มผ ลเปน็ ข อ้ ส มมตทิ ส่ี ดุ โตง่ แ ละข ดั แ ยง้ ก บั ค วามเปน็ จ รงิ อ ยา่ งย งิ่
นอกจากน ้ี ในการร วบรวมข า่ วสารข อ้ มูลเพือ่ การต ดั สนิ ใจ ปจั เจกช นย อ่ มมตี ้นทุนค า่ ใช้จ า่ ย ซึ่งท�ำ ใหไ้ม่สามารถ
ใชป้ ระโยชน์จากข้อมลู ไดท้ ั้งหมดอ ยา่ งมีป ระสทิ ธิภาพ